ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อน
2. จัดทำโดย
    1.
    2.
    3.
3. อีเมล์
prapawinpratis@gmail.com , kokiza2009@hotmail.com
4. บทคัดย่อ
โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการออกแบบและศึกษาการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อน
        การดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ จำนวน 20 คน โดยให้ทดลองใช้เครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อนสร้างขึ้น เสร็จแล้วให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้เครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อน
        ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า เครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อนที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.30
5. บทนำ
       เนื่องจากปัจจุบันในตกแต่งสถานที่ยังใช้งานโฟมเป็นปัจจัยหลักในการจัดงาน อีกทั้งงาน โฟมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้หลายหลากร่วมกับวัสดุอื่นมากมาย เช่น การจัดทำป้ายหรือของตกแต่งต่างๆโดยใช้โฟมเป็นหลักแต่การตัดโฟมนั้น จำเป็นต้องมีฝีมือและความชำนาญเป็นอย่างมากส่วนอุปกรณ์ที่ใช้นั้นคือมีดคัตเตอร์ ไม้บรรทัดและดินสอ ด้วยอุปกรณ์เหล่อนี้ทำให้การตัดโฟมนั้นยากและไม่แม่นยำมากนักโดยเฉพาะการตัดโฟมแบบโค้งหรือเจาะรูโฟมถ้าไม่มีความชำนาญอาจจะทำให้โฟมไม่ได้รูปแบบที่ต้องการและอาจต้องเปลี่ยนโฟมเพื่อให้ได้รูปแบบที่ต้องการ
       ความสามารถของ เครื่องตัดโฟมคือ สามารถตัดโฟมได้ง่ายและประหยัดเวลาในการตัดโฟมเพราะ ในการตัดโฟมที่ใช้มีดคัตเตอร์นั้นก็ต้องความระมัดระวัง เพราะมีความคมมาก และการใช้มีดคัตเตอร์ในการตัดโฟมอาจจะทำให้โฟมหักได้ จำเป็นต้องเปลี่ยนแผ่นใหม่ ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เปล่าแล้วเครื่องตัดโฟมแบบเก่าไม่มีที่ปรับองศาจึงทำให้การตัดโฟมไม่ได้องศาที่ถูกต้องแน่ชัดและความปลอดภัยในการตัด
       ดังนั้น ผู้จัดทำโครงงานจึงได้เสนอโครงการสร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโฟม แบบปรับองศาได้เพื่อลดเวลาในการตัดโฟมและเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้งานต่อไป
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
     1  เพื่อสร้างเครื่องตัดโฟม
     2  เพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโฟม
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
1. ด้านขอบข่าย มีรายละเดียด ดังนี้
    1.1 ใช้ หม้อแปลง ขนาด 0-24V เป็นตัวทำความร้อนให้กับลวด
    1.2 ขดลอดความร้อน คือขดลวดที่นำความร้อน เป็นโลหะผสมระหว่างนิเกิลกับโครเมียม ทำหน้าที่เปลี่ยนกระแสไฟฟ้า ให้เป็นความร้อน
2. ด้านเนื้อหา
    2.1 สามารถตัดโฟมที่มีความสูง 15 นิ้ว
    2.3 โต๊ะสามารถปรับไฟได้
    2.4 หม้อแปลง ขนาน 0-24v
    2.5 มีโต๊ะที่สามารถปรับองศาได้
    2.6 สามารถเปิดใช้งานได้เป็น 0-5 ชั่วโมง
3. ด้านระยะเวลาและกลุ่มตัวอย่าง
    3.1 ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2558
    3.2 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 คน
 
8. สมมุติฐาน
เครื่องตัดโฟมสามารถตัดโฟมตามองศาที่กำหมด
9. วิธีดำเนินการวิจัย

                              ภาพที่1 แผนผังวิธีดำเนินการวิจัย
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็น ลูกจ้าง ของโรงงานศักดิ์ชายเฟอร์นิเจอร์ 20 คน
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือที่ใช้งานวิจัย    

      1) วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรมเพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงโดยการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อน             
      2) ศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
      3) กำหนดวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโพมด้วยลวดนำความร้อน
      4) หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและหาประสิทธิของชิ้นงาน
      5) ออกแบบสร้างและพัฒนาชุดฝึก

 ภาพที่ 2 การออกแบบโครงสร้างของเครื่องตัดโฟม


รูปที่ 3วัดเหล็กเพื่อตัดให้ได้ขนาด


รูปที่ 4 ตัดเหล็กตามที่วัดไว้



รูปที่ 5 เหล็กทำโครงชิ้นงาน



รูปที่ 6 เจาะโครงเหล็กเพื่อจะได้ยืดค้านตึงขวดลวด


รูปที่ 7 ทำค้านตึงขวดลวดและร้อยสายไฟ


รูปที่ 8 ตัดไม้อัดเพื่อทำเป็นพื้น


รูปที่ 9 ประกอบค้าน ยึดไม้อัดและเดินสายไฟ



รูปที่ 10 ขัดไม้อัดให้เรียบเนียน



รูปที่ 11 ขัดไม้อัดให้เรียบเนียน


รูปที่ 12 ชิ้นงานเสร็จแล้ว

แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
 
นำแบบสอบถามไปหาค่าความสอดคล้องของข้อคำถาม โดยใช้แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
ตารางที่ 1 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม

                                                                        ผู้ประเมิน  …………………………………
                                                                                          (...........................................)

การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้เชี่ยวชาญ
          วิเคราะห์ผลหาค่าความสอดคล้องของข้อคำถามโดยเลือกคำถามจากผลการวิเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญ
ดังนี้
ตารางที่ 2 วิเคราะห์หาค่าความสอดคล้องของข้อคำถามจากผู้เชี่ยวชาญ

จากตาราง พบว่า ทุกข้อสามารถใช้งานได้


แบบประเมินผลความพึงพอใจในการพัฒนาและประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
...................................................................................................................................................................
       แบบประเมินผลความพึงพอใจในการพัฒนาและประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนจัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการทดลองเครื่องตัดโฟมด้วยลวกนำความในกลุ่มแรงงานรับจ้างที่โรงงานศักดิ์ชายเฟอร์นิเจอร์   ผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงการทำงานของตัวอุปกรณ์
 คำชี้แจง แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
        ตอนที่  1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
        ตอนที่  2 ด้านกรใช้งาน เครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน มีทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้าง
                  ด้านที่ 2 ด้านการใช้งาน
                  ด้านที่ 3 ด้านคุณค่าโดยสรุป
ตอนที่  3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ                                
ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถามโปรดทำเครื่องหมาย P ลงใน  ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน                                                                              
1.  เพศ
                       ชาย           หญิง
2.  อายุ
                       ต่ำกว่า 20 ปี       21-30 ปี          31-40 ปี         41-50 ปี    สูงกว่า 50 ปี
3.  อาชีพของท่าน
                     ไม่มีอาชีพ  เกษตรกร       ข้าราชการ   นักเรียน/นักศึกษา    อื่นๆ .................
ตอนที่  2 เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในใช้ไม้กวาดหยากไย่ไฟฟ้า ซึ่งประเมิน ทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้าง
                  ด้านที่ 2 ด้านการใช้งาน
                  ด้านที่ 3 ด้านคุณค่าโดยสรุป

คำชี้แจง  โปรดทำเครื่องหมาย P ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
                        5 หมายถึง ในระดับดี มากที่สุด
                        4 หมายถึง ในระดับดี มาก
                        3 หมายถึง ในระดับดี ปานกลาง
                        2 หมายถึง ในระดับดี น้อย
                           1 หมายถึง ในระดับดี น้อยที่สุด
ตารางที่ 3 แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้เครื่องตัดโฟม

ตอนที่  3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
.................................................................................................................................................................................... 

แบบประเมินประสิทธิภาพของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนระหว่างความสามมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเนกับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค ดังนี้
        ผลการวิเคราะห์
ตารางที่ 4 แบบประเมินประสิทธิภาพของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน

9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

 การเก็บรวบรวมข้อมูลโผู้เสนอโครงการ ได้เลือกลูกจ้างและนายจ้างของร้าน ศักชายเฟอนิเจอร์ จำนวน 20 คน มีทดลองใช้เครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำ และตอบแบบสอบถาม ดังแสดงในภาพที่1

ภาพที่ 1 หัวหน้ากิจการผู้ทดสอบ


ภาพที่ 2 ลูกจ้างผู้ทดสอบ
  

ภาพที่ 3
 ลูกจ้างผู้ทดสอบ  


ภาพที่ 4
 ลูกจ้างผู้ทดสอบ  

9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
1) การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิณ
      การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์                                                   
                           
            IOC   คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency)
            คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
             N      คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
      2) การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ
                               
                แทน คะแนนเฉลี่ย
           แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
             N     แทน จำนวนข้อมูล
        3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation)
                         
              S.D           คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง
           คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง
           คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
10. ผลของการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนในแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ มีการวิเคราะห์โดยแยกขั้นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังนี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 5 ตอน ดังนี้
         ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
         ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
         ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลด้านโครงสร้างเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
         ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลด้านการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
         ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลด้านคุณค่าโดยสรุปของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
 

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม

ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม

  ขนาดของชิ้นงาน คือ ความกว้าง ความยาว ความสูง ของชิ้นงาน ซึ่งเมื่อสร้างเสร็จจะได้ชิ้นงานที่ประกอบด้วย 80ซม เส้นผ่าศูนย์กลาง 40 ซม จำนวน 12 ท่อน

รูปที่ 1 วัดขนาดความยาวของท่อเหล็กแต่ละท่อ


ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม       

   ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

   จากตารางที่ 4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20 คน เป็นเพศชาย 15 คน เพศหญิง 5 คน คิดเป็น 100% มีอายุส่วนใหญ่  31 ปีคิดเป็น 55% และ อาชีพ อื่นๆ คิดเป็น 60%

 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลด้านโครงสร้างเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน
                ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนของลูกจ้างร้านศักษ์ชายเฟอนิเจอร์ โดยใช้เครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน ด้านที่ 1 ด้านโครงสร้าง
ตารางที่ 4.3 ตารางแสดงระดับความพึงพอใจ ด้านการโครงสร้างเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน

     จากตาราง พบว่า ความพึงพอใจ ด้านโครงสร้างเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนของนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านที่ 1 ด้านการออกแบบเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก

ตารางที่ 4 ตารางแสดงระดับความพึงพอใจ ด้านการใช้งาน
     จากตารางพบว่า ความพึงพอใจในการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนของนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านที่ 2 ด้านการใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก

ตารางที่ 5 ตารางแสดงระดับความพึงพอใจ ด้านคุณค่าโดยสรุป
จากตาราง พบว่า ความพึงพอใจในการใช้งานไม้กวาดหยากไย่ไฟฟ้าของนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ด้านที่ 3 คุณค่าโดยสรุป โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนเพื่อใช้สำหรับการตัดโฟมและความสวกสบายมากยิ่งขึ้น เป็นงานวิจัยประเภทนวัตกรรมที่ผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นในการศึกษาวิชาโครงการตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีพุทธศักราช 2558 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและหาประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนโดยคณะผู้จัดทําโครงการได้นำเสนอการสรุปผลการดำเนินงานวิจัยปัญหา ข้อเสนอแนะและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้
 สรุปผลการวิจัย
     1 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน​ ในการทดลองใช้งานเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน ในการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งาน พบว่า ความพึงพอใจในชิ้นงานสามารถประกอบได้ง่ายไม่ซับซ้อน อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือน้ำหนักของชิ้นงานมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก
      2 ความพึงพอใจในการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อน ด้านการใช้งาน พบว่าความพึงพอใจในการเปลี่ยนลวดความร้อนสามารถทำได้ง่ายไม่ซับซ้อน อยู่ในระดับมาก รองลงมามีความพึงพอใจในการปรับองศาของลวดความร้อนในทุกการใช้งาน อยู่ในระดับมาก
      3 ความพึงพอใจในการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อน ด้านคุณค่าโดยสรุป โดยความพึงพอใจในการที่ชิ้นงานสามารถนำไปใช้งานได้จริง อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมามีความพึงพอใจ ที่มีประโยชน์ต่อลูกจ้าง,เกษตรกร

 การอภิปรายผล
        จากการศึกษาและการพัฒนาและหาประสิทธิภาพเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อนตรงตามความต้องการของผู้ใช้เครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อน มีความเหมาะสมกับการใช้งาน ความสะดวกในการใช้งาน ผู้ใช้งานได้สะดวกสบาย ซึ่งการพัฒนาเครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อนสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาหลักการทำงานของ หม้อแปลง 24V หลังจากการพัฒนาชิ้นงานเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ตามลำดับ พบว่า
        ด้านโครงสร้างของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อน ผู้ใช้งานที่ได้ไปทดสอบมีความพึงพอใจเกี่ยวกับชิ้นงานสามารถประกอบได้ง่ายไม่ซับซ้อนและน้ำหนักของชิ้นงานเหมาะสมด้านวัสดุอุปกรณ์ก็มีความแข็งแรงคงทนขณะเดียวกันก็ใช้ความร้อนของเส้นลวดได้อย่างเหมาะสม
        ด้านการใช้งานเครื่องตัดโฟมด้วยลวดนำความร้อน ผู้ใช้งานที่ได้ไปทดสอบมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนเส้นลวด สามารถทำได้ง่ายไม่ซับซ้อนและการทำความสะอาดเส้นลวดสามารถทำได้ง่ายและทั่วถึงพร้อมกับความหลากหลายของการปรับองศาขอเครื่องตัดโฟมครอบคลุมในทุกการใช้งานมีความสะดวกสบายในการใช้งานควบคู่กับความปลอดภัยในการใช้งานและขนาดที่พอดีของชิ้นงานมีความเหมาะสมในการใช้งานขณะเดียวกันจำนวนการปรับองศาเพียงพอต่อการใช้งาน
        ด้านคุณค่าโดยสรุปของเครื่องตัดโฟมด้วยลวดความร้อน ผู้ใช้งานที่ได้ไปทดสอบเห็นว่ามีประโยชน์ต่อลูกจ้าง,เกษตรกรและชิ้นงานสามารถนำไปใช้งานได้จริง
 
12. ข้อเสนอแนะ

 1.ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้

        1)ควรปฏิบัติตามข้อแนะนำของผู้จัดทำชิ้นงาน

        2)ไม่ควรใช้งานติดต่อกันนานเกิน 5 -8 ชั่วโมง

        3)ควรหาวัสดุอุปกรณ์ที่มีน้ำหนักเบากว่านี้ 

   2.ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป

        1)ควรพัฒนาเครื่องตัดโฟมให้มีน้ำหนังเบากว่านี้
        2)ควรพัฒนาตัวอุปกรณ์ให้มีความแข็งแรงมากขึ้น
        3)ควรพัฒนาเรื่องราคาให้มีความเหมาะสมมากขึ้น

13. บรรณานุกรม
http://joomlaleo.blogspot.com/2010/10/switch.html
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ
                                                       
ชื่อ-สกุล
          นายภคิน หงษ์สิบสอง
เกิดเมื่อวันที่      27  พฤษภาคม พ.ศ.2540
ที่อยู่ปัจจุบัน      63 ม.5 ต.วังหงส์ อ.เมือง จ.แพร่ 54000
วุฒิการศึกษา    ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวช.)สาขางานคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร           082-8918363
อีเมล์                 kokiza2009@hotmail.com
                                                       
ชื่อ-สกุล           นายอภิวิชญ์  อินทราวุธ  
เกิดเมื่อวันที่      5  กรกฎาคม  พ.ศ. 2541
ที่อยู่ปัจจุบัน      4 ม.7 ต.บ้านเหล่า อ.สูงเม่น จ.แพร่ 54130
วุฒิการศึกษา    ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวช.)สาขางานคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร         091-0788988
อีเมล์             kaiou_009@hotmail.com
 
                                                       
ชื่อ-สกุล           นายปภาวิน ประทิศ
เกิดเมื่อวันที่      30  กรกฎาคม  พ.ศ. 2540
ที่อยู่ปัจจุบัน      43 ม.2 ต.กาญจนา อ.เมือง จ.แพร่ 54000
วุฒิการศึกษา    ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวช.)สาขางานคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร         099-27694113
อีเมล์             prapawinpratis@gmail.com
 
ลิงค์ Youtube vdo