ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การสร้างและหาประสิทธิภาพเว็บไซร์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
2. จัดทำโดย
    1. นายพนารักษ์ เหล่ากาวี
    2. นายศุภกานต์ หวังสุข
    3.
3. อีเมล์
palmmaryu01234@gmail.com , saruwatari_dsws@outlook.com
4. บทคัดย่อ
               
                โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนในรายวิชา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุบนระบบวินโดว์ (3128-2003) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
                การดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย () และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้เว็บไซต์ในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้เว็บไซร์ด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 20 ชุดในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอน
                ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.50
5. บทนำ
                ปัจจุบันนั้นการเขียนโปรแกรมมีภาษาเกิดมามากมายหลากหลายและภาษาต่างๆคำสงวนที่ใช้ก็จะแตกต่างกันแค่นิดเดียวและภาษาที่เป็นพื้นฐานของทุกๆ ภาษาและจำเป็นต้องศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการนำไปประยุกต์กับภาษาอื่นๆ ภาษานั้นก็คือ ภาษา C ด้วยเหตุนี้ทางผู้จัดทำจึงเกิดความคิดที่อยากพัฒนาสื่อการสอนที่เข้าถึงง่ายมีแบบฝึกหัดที่ทำได้ง่ายๆโดยไม่ต้องใช้หนังสือเนื่องจากปัจจุบันนั้นเด็กไทยไม่ค่อยเปิดดูหนังสือทางผู้จัดทำจึงได้พัฒนาเว็บไซต์สื่อการสอนภาษาซีขึ้นมา
                เด็กไทยในปัจจุบันมีการอ่านหนังสือที่น้อยลงและกลับไปก้มหน้าหาโซเชียลมีเดียร์กันมากขึ้นในปัจจุบันนี้ และ การที่ผู้จัดทำพัฒนาเว็บไซต์สื่อการสอนภาษาซีขึ้นก็เนื่องจากผู้จัดทำได้เล็งเห็นถึงเด็กไทยในปัจจุบันที่อยู่กับโทรศัพท์มือถือคอมพิวเตอร์และโลกออนไลน์ซะส่วนใหญ่เลยทำให้หนังสือไม่สามารถดึงดูดเด็กไทยได้และในปัจจุบันการศึกษาในอินเทอร์เน็ตนั้นก็มีกว้างขวางมากในตอนนี้จึงทำให้การเรียนรู้นั้นมีความกว้างขวางและหลากหลายมากขึ้นผู้จัดทำเห็นว่าด้วยการที่ในปัจจุบันโลกอินเทอร์เน็ตมีการเรียนรู้ที่กว้างขวางมากผู้จัดทำเลยคิดอยากจะพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการเรียนการสอนภาษาซีขึ้นและทางผู้จัดทำยังเห็นอีกว่าหากเรียนรู้แล้วทางผู้ใช้มักจะอยากหาสิ่งที่ช่วยทบทวนความรู้อย่างบททดสอบทางผู้จัดทำจึงทำแบบทดสอบไว้ให้ผู้ใช้ทุกๆบทเรียนและมีบททดสอบสำหรับบทเรียนทั้งหมดอีกด้วย
                ดังนั้นผู้จัดทำจึงพัฒนาเว็บไซต์สื่อการสอนภาษาซีขึ้นมาเพื่อนำไปใช้สอนกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ เพื่อให้กระบวนการเรียนรู้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1)   เพื่อพัฒนาเว็บไซต์สื่อการสอนภาษาซี
2)   เพื่อหาประสิทธิภาพเว็บไซต์สื่อการสอนภาษาซี
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
เว็บไซต์ภาษาซี  มีรายละเอียด ดังนี้
     1 ด้านเนื้อหา
          1.1 ภาษาซีเบื้องต้น มีรายละเอียดดังนี้
                   (1) บทที่ 1 รู้จักกับภาษา C
                   (2) บทที่ 2 ตัวแปรกับชนิดข้อมูล
                   (3) บทที่ 3 โอเปอเรเตอร์
                   (4) บทที่ 4 การรับและแสดงผล
                   (5) บทที่ 5 คำสั่งควบคุม
                   (6) บทที่ 6 อาร์เรย์
                   (7) บทที่ 7 เพิ่มเติมเกี่ยวกับ String
                   (8) บทที่ 8 ฟังก์ชั่น
                   (9) บทที่ 9 สตรัคเจอร์และยูเนียน
                   (10) บทที่ 10 ไฟล์
          1.2 การเขียนและออกแบบเว็บไซต์
                   (1) โครงสร้างคำสั่งของ HTML
                   (2) คำสั่งในการจัดหน้า
                   (3) การเชื่อมต่อเอกสารด้วย hyperlink
                   (4) List จัดข้อมูลในเว็บเพจให้เป็นระเบียบ
                   (5) CSS Syntax
                   (6) การใช้งาน CSS
     2 ขอบข่ายเว็บไซต์
          2.1 ความสามารถของเว็บไซต์ภาษาซีมีคุณสมบัติดังนี้
                   (1) มีบทเรียนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
                   (1) มีแบบทดสอบให้ทำหลังเรียนทุกบทเรียน
                   (1) มีการเก็บคะแนนของแต่ละคนลงฐานข้อมูล
                   (1) มีแอพพลิเคชั่นในการช่วยใช้งานหน้าเว็บทางมือถือ
     3 ด้านระยะเวลา ตลอดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
     4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
8. สมมุติฐาน
เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซีสามารถใช้ในการเรียนการสอนในวิชาเขียนโปรเเกรมเชิงวัตถุ
9. วิธีดำเนินการวิจัย
1 ) ศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมการโครงการ ผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบเว็บไซต์การออกแบบฐานข้อมูลและการเขียนระบบโดยภาษา PHP ร่วมกับ MySQL
2 ) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวการทำงานของเว็บไซต์และกำหนดขอบเขตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน
3 ) การสร้างและออกแบบ เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
4 ) ทดสอบหาประสิทธิภาพของเว็บไซร์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี มีการใช้แบบประเมินประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้
5 ) กำหนดกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 20 คน วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
6 ) สอนการใช้งานเว้บไซต์ให้กับที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
7 ) นักศึกษาทดลองใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอน
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
           การสร้างและหาประสิทธิภาพเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี มีขั้นตอนในการออกแบบ โดยมีรายละเอียดมีดังนี้

                    ภาพที่ 1 ลำดับขั้นตอนการดำเนินโครงการ

 1.  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
 2.  ศึกษาทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
 3.  กำหนดขอบเขตของโปรแกรม และฐานข้อมูลที่ใช้เขียนโปรแกรม
 4.  ออกแบบและสร้างเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี


                                          ภาพที่ 2 การทำงานของเว็บไซต์

                                      ภาพที่ 3 ผังการทำงานของเว็บไซต์


5. เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
    1) ภาพรวมของเว็บไซร์

                                     ภาพที่ 4 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์


                                     ภาพที่ 5 โปรแกรมค้นหารหัสแอสกี้

 
                                     ภาพที่ 6 สแดงหน้าบทเรียนทั้งหมด

 2) การใช้งานโปรแกรม
       2.1 คลิกที่เมนู บทเรียน

                                   ภาพที่ 7 คลิกที่เมนู บทเรียน

       2.2 คลิกที่เมนู บทเรียนที่ต้องการ

                                   ภาพที่ 8 คลิกที่เมนู บทเรียนที่ต้องการ

       2.3 เลือกเนื้อหาที่ต้องการ

                                   ภาพที่ 9 เลือกเนื้อหาที่ต้องการ

       2.4) หน้าตานื้อหา ดังแสดงในภาพที่ 9

                                 ภาพที่ 10 หน้าตาเนื้อหาด้านใน

6. ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ
                            แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
 ตารางที่ 1  
แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ



                              การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
      ตารางที่ 
2  การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ

แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                         ข้อ 1   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 2   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 3   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 4   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 5   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 6   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 7   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 8   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 9   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 10   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 11  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 12  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 13 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 14 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 15 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 16 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้

 แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้เว็บไซร์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
                แบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมแปลงรหัสนีโมนิกเป็นภาษาแอสเซมบลี ระบบออนไลน์ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้ ที่มีต่อโปรแกรมผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการปรับปรุงโปรแกรม ให้มีความสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป
 
คำชี้แจง  แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
             ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             ตอนที่ 2 ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรมแปลงรหัสนีโมนิก มีทั้งหมด 3 ด้านดังนี้
                     ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
                     ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
                     ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้การโปรแกรม
             ตอนที่ 3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
 
ตอนที่ 1  เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             โปรดทำเครื่องหมาย  ลงใน  ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน
1.  เพศ
              ชาย        ​ หญิง
2.  อายุ
             ​ ต่ำกว่า 15 ปี  ​ 16-20 ปี             ​ 20-25 ปี         ​ 26-30 ปี         ​ สูงกว่า 30 ปี
3.  อาชีพของท่าน
             ​ ไม่มีอาชีพ    ​ เกษตรกร           ​ ข้าราชการ      ​ นักเรียน/นักศึกษา 
             ​ อื่นๆ ระบุ..................................


ตอนที่ 2  เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้เว็บไซร์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
ซึ่งจะประเมินทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
                       ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
                       ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
                       ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้การโปรแกรม
คำชี้แจง        โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริงมากที่สุด
                        5 หมายถึง          ในระดับดี มากที่สุด
                        4 หมายถึง          ในระดับดี มาก
                        3 หมายถึง          ในระดับดี ปานกลาง
                        2 หมายถึง          ในระดับดี น้อย
                        1 หมายถึง          ในระดับดี น้อยที่สุด
     ตารางที่ 3  แบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี



ข้อเสนอแนะ
       ...........................................................................................................................................
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

          โครงการครั้งนี้ เลือกนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เพื่อหาคำตอบของโครงการครั้งนี้โดยกำหนดเป็นขั้นตอนได้ดังนี้


             ภาพที่ 11 ผังแสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสำหรับการประเมิน 
 


          ภาพที่ 12 การใช้งานเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี


         ภาพที่ 13 การใช้งานเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี


         ภาพที่ 14 การใช้งานเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี

9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
1)  การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิณ
     การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์                                                   
                            
            IOC   คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency)
            คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
             N      คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
2)  การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ
                               
                แทน คะแนนเฉลี่ย

           แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

             N     แทน จำนวนข้อมูล
3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation)
                         
              S.D  คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง  

             คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง

              คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
                N        คือ จำนวนข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
10. ผลของการวิจัย
        การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซีมีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยขอนำเสนอตามลำดับ โดยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล รวม 5 ตอน ดังนี้
             ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้
                          เว็บไซร์
             ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
             ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซร์
             ตอนที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบในภาพรวมทุกด้าน
          
ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
         ตารางที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

             จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20 คน เป็นเพศชาย 20 คน คิดเป็น 100% และอายุส่วนใหญ่อยู่ที่เกณฑ์ 16-20 ปี  คิดเป็น 100%  ประสบการณ์ใช้งานโปรแกรมคิดเป็น 100%
  
ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษษซี  ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ คือ ในแต่ละฟอร์มการทำงานระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ เหมาะสมกับการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี
          ตารางที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซร์
            
             จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ  (= 4.54) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความสามารถของเว็บไซต์และแอพพลิเคชั่น มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (= 4.65) และด้านความสามารถความสามารถในการค้นหารหัสแอสกี้ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (= 4.45)
 
ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน คือระบบมีความสะดวกในการใช้งาน ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว
ตารางที่ 6  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
 
             จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ  (= 4.53) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านเว็บไซต์มีระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (= 4.60) และด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหารหัสแอสกี้ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (= 4.40)
 
ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์ คือระบบมีความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน
ตารางที่ 7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์
            
             จากตารางที่ 7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านความง่ายต่อการใช้การเว็บไซต์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก คือ  (= 4.45) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (= 4.60) และด้านความเหมาะสมในการใช้ข้อความเพื่ออธิบายสื่อความหมายของเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (= 4.30)
 
ตอนที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ว็บไซต์ในภาพรวมทุกด้าน
              สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี  มีดังนี้
ตารางที่ 8  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้เว็บไซต์ในภาพรวมทุกด้าน
            
                จากตารางที่ 8 ความพึงพอใจในการใช้ว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี โดยภาพรวมทุกด้าน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย คือ (   =4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมินในแต่ละด้าน พบว่า ด้านการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (=4.54) และด้านการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย ต่ำที่สุด คือ (=4.45)
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
                จากผลสร้างและหาประสิทธิภาพเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี พบว่าเว็บไซร์ สามารถใช้งานได้จริงและเป็นประโยชน์ต่อการใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ในรายวิชา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุบนระบบวินโดว์ (3128-2003) จุดเด่นของโปรแกรม
นั้นสามารถค้นหาบทเรียนที่ต้องการได้ทั้งหมดทุกบทเรียนที่มีภายในเว็บและยังมีระบบในการค้นหาเลขฐานต่างๆด้วยโปรแกรมค้นหาระบบแอสกีและภายในตัวเว็บไซต์ยังมีหน้าการทำแบบทดสอบทั้ง 10 บทที่มีภายในเว็บอีกด้วยและยังสามารถลดเวลาในการค้นหาจากหนังสือได้อีกด้วยเนื่องจากมีระบบในการค้นหาบทเรียยนที่ต้องการที่เข้าใจง่ายไม่ยุ่งยากและกานค้นหาระบบแอสกีนั้นมีความแม่นยำและถูกต้องในการค้นหาไม่จำเป็นต้องไปเปิดในหนังสือให้เสียเวลาเพียงแค่ค้นหาจากตัวอักษรที่ต้องการระบจะทำการค้นหาให้อย่างง่ายและรวดเร็ว และหลังจากเข้าใจในบทเรียนตัวเว็บไซต์เองยังมีระบบทำแบบทดสอบหลังการเรียนรู้ได้อีกด้วยจึงทำให้ user นั้นสามารถทดสอบความสามารถของตนเองได้และยังสามารถเก็บคะแนนในแต่ละบทลงไปได้อีกด้วยเพื่อวัดระดับคะแนน
                นอกจากจุดเด่นและจุดด้อยของโปรแกรมยังมีด้านความต้องการของผู้ใช้โปรแกรมและด้านฟังก์ชันการทำงานอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านความง่ายต่อการใช้โปรแกรมอยู่ในระดับมาก เพราะโปรแกรมตอบสนองถึงความต้องการของผู้ใช้ในด้านการเรียนรู้ รวมถึงเนื้อหาอีกทั่งในส่วนของเมนูยังสะดวกต่อการค้นหาสำหรับผู้ใช้งาน ผู้จัดทำจึงได้วิเคราะห์และออกแบบระบบโดยนึกถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก
12. ข้อเสนอแนะ
5.3.1  ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
                         1)  ควรปฏิบัติตามข้อแนะนำคู่มือการใช้งาน     
                         2)  ผู้ใช้จะต้องมีความรู้ก่อนทำแบบทดสอบ
               
5.3.2  ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
                         1)  ควรเพิ่มเนื้อหาให้มากกว่านี้
                         2)  ควรทำแบบทดสอบให้มีความตรงกับที่ได้เรียนมากกว่านี้
                         3)  ในการออกแบบควรนึกถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นส่วนใหญ่
 
13. บรรณานุกรม
วิศรุต  พลสิทธิ. พื้นฐานภาษาซี. นนทบุรี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บัญชา ปะสีละเตสัง. พัฒนาเว็ปแอปพลิเคชั่น PHP ร่วมกับ MySQL และDreamweaver.  
                  กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น
ประวัติความเป็นมาของภาษาซี. 2559. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา:
                      https://sites.google.com/site/bbmm2553/prawati-khwam-pen-ma-khxng-phasa-si
การใช้งานคำสั่งของเว็บไซต์. 2559. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.w3schools.com/
การพัฒนาของภาษาคอมพิวเตอร์. 2559. [ออน-ไลน์]. แหล่งที่มา:
                      http://nun.anc.ac.th/prawati-khxng-phasa-si
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ
                   
ชื่อ-สกุล              นายพนารักษ์        เหล่ากาวี
เกิดเมื่อวันที่         13 พฤษภาคม 2539
ที่อยู่ปัจจุบัน         155/3 ม.4 ต.ร่องกาศ อ.สูงเม่น จ.แพร่ 54130
วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
                          สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟแวร์
เบอร์โทร              0918519030
อีเมล์                    palmmaryu01234@gmail.com
                 
ชื่อ-สกุล              นายศุภกานต์        หวังสุข
เกิดเมื่อวันที่         8 กันยายน 2539
ที่อยู่ปัจจุบัน         144/1  หมู่ 2 บ้านพันเชิง ตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่  54000
วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
                          สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟแวร์
เบอร์โทร              088-2361128
อีเมล์                    saruwatari_dsws@outlook.com

 
ลิงค์ Youtube vdo