ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
2. จัดทำโดย
    1. นายอิทธิกร ทิพย์รัตน์
    2. นายธนภณ วงทะนะ
    3.
3. อีเมล์
tanapon-ball@hotmail.com
4. บทคัดย่อ
          การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการห้องเรียนคอมพิวเตอร์เป็นระบบเพื่อให้ผู้เรียนไม่ให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ในขณะที่ครูผู้สอนกำลังสอนเนื้อหาในการเรียน โดยการแสดงภาพคอมจากกล้องวงจรปิดของแผนก ซึ่งในโปรแกรมยังประกอบไปด้วยหน้าตั้งค่ากล้อง1-12 และหน้าแสดงผลของแผนก และฟังก์ชันจัดเก็บประวัติการเข้าใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ของผู้เรียน ระบบนี้ช่วยอำนวยความสะดวกในการ
          การดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย  และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยมีการสอนการใช้โปรแกรมในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้โปรแกรมด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบ ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิดผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.61
 
5. บทนำ
          เนื่องด้วยปัจจุบันประเทศไทยมีการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การสร้างอาคารบ้านเรือนและสำนักงานต่างๆตามมา เมื่ออาคารบ้านเรือนและสำนักงานเกิดขึ้นทำให้ปัญหาต่างๆเกิดขึ้นด้วย อย่างเช่นอาชญากรรมตามสถานที่ต่างๆเป็นภัยร้ายใกล้ตัวที่ไม่สามารถเดาได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่เรืองนี้สามารถป้องกนได้  ในปัจจุบันมีการโจรกรรมเกิดขึ้นมากขึ้นทุกปี ทำให้ไม่มีความปลอดภัยในการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข ดังนั้นการติดตั้งกล้องวงจรปิด CCTV เพื่อป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันเหตุที่เกิดขึ้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีระบบกล้องวงจรปิด CCTV เพื่อรักษาความปลอดภัย ไว้เพื่อป้องกนชีวิตและทรัพย์สินไว้ภายในสำนักงานหรืออาคารบ้านเรือนที่ต้องการความปลอดภัย ระบบกล้องวงจรปิดเป็นระบบที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และระบบไฟฟ้าเพื่อควบคุมการทำงานของกล้องวงจรปิดภายในพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง การควบคุมกล้องวงจรปิดโดยใช้ตัว Control หรือเรียกอีกอย่างว่า Digital Videos Recorder (DVR) เป็นตัวส่งงานโปรแกรมที่ใช้ในงาระบบของกล้องวงจรปิด CCTV
          สำหรับคนที่ชื่นชอบการใช้แอพพลิเคชั่น ที่สามารถดูภาพผ่านระบบ Network ได้สมบูรณ์แบบและครบวงจรที่สุด ในเวลานี้ไม่ควรพลาดเป็นอย่างยิ่งสำหรับแอพพลิเคชั่น เพราะมีจุดเด่นเรื่อง การใช้งานง่าย ตอบสนองการทำงานที่รวดเร็ว สามารถดูภาพย้อนหลังได้ รองรับการ Record และสามารถ Snapshot ภาพลงที่โทรศัพท์มือถือได้โดยไม่เสียค่าบริการเพิ่มเติม
          ดั้งนั้นผู้จัดทำผู้จัดทำโครงการจึงได้จัดทำโครงการการสร้าและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1)  เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด
2)  เพื่อหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด มีรายละเอียด ดังนี้
1.  ด้านขอบข่ายมีรายละเอียดดั้งนี้
     1.1  ใช้โปรแกรม Android Studio
     1.2  ใช้ภาษา JavaScrip
     1.3  ใช้ฐานข้อมูล SQLite android
2.  ด้านเนื้อหา
     2.1 ด้านตั้งค่า
           2.1.1  สามารถตั้งชื่อ DVR ได้
           2.1.2  สามารถบันทึก Host ที่ต้องการดูภาพได้
           2.1.3  สามารถบันทึก Port ที่ต้องการดูภาพได้
           2.1.4  สามารถ User Name ที่เข้าใช้ DVR ที่ต้องการดูได้
           2.1.5  สามารถ Password ที่เข้าใช้ DVR ที่ต้องการดูได้
     2.2  ด้านตัวเลือกการดูภาพแต่ละกล้อง
            2.2.1  สามารถดูภาพของกล้องหมายเลขที่เลือกได้
            2.2.2  สามารถเปลี่ยนภาพที่ต้องการดูแต่ละหมายเลขได้
     2.3  ด้านการแสดงผลภาพจากกล้องวงจรปิด
            2.3.1  สามารถดูภาพจารกล้องหมายเลขที่เลือก
3.  ด้านเวลา
     ตลอดภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา2559
 
8. สมมุติฐาน
          ได้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิดที่ใช้งานได้จริง
 
9. วิธีดำเนินการวิจัย
   1 ) ศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมการโครงการ ผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมการ การเขียนระบบโดยภาษา Java
   2 ) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวการทำงานของโปรแกรมและกำหนดขอบเขตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน
   3 ) การสร้างและออกแบบ โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
   4 ) ทดสอบหาประสิทธิภาพของโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด มีการใช้แบบประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมจากผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้
   5 ) กำหนดกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 20 คน วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
   6 ) สอนการใช้งานโปรแกรมให้กับที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
   7 ) นักศึกษาทดลองใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
 
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
 
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
         การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิดมีขั้นตอนในการออกแบบ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
                              
                                            ภาพที่ 1  ลำดับขั้นตอนการดำเนินโครงการ

1  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
2  ศึกษาทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
3  กำหนดขอบเขตของโปรแกรม ทรัพยากร และฐานข้อมูลที่ใช้เขียนโปรแกรม
4  ออกแบบและสร้างโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
    4.1  แผนผังการทำงานของโปรแกรม ดังแสดงในภาพที่ 2
                                         
                                               ภาพที่ 2  แผนผังการทำงานของโปรแกรม

    4.2  การทำงานของโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
ดังแสดงในภาพที่ 3
                       
                                                   ภาพที่ 3  การทำงานของโปรแกรม

    4.3  พจนานุกรมข้อมูลของโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด

5  โปรแกรมแปลงโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
    5.1  ภาพรวมของโปรแกรม ดังภาพที่ 4 ถึง 6
                         
                                                   ภาพที่ 4  แสดงหน้าหลักของโปรแกรม

                                          
                                                      ภาพที่ 5  แสดงหน้าตั่งค่าโปรแกรม

                          
                                           ภาพที่ 6  แสดงหน้าโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัย

    5.2  การใช้งานโปรแกรม
          (1)  คลิกที่…บนสุดขวามือ ดังแสดงในภาพที่ 7
                 
                                                        ภาพที่ 7  คลิกที่…บนสุดขวามือ

          (2)  คลิกที่ Settings ดังแสดงในภาพที่ 8
                           
                                                            ภาพที่ 8  คลิกที่ Settings

          (3)  คลิกที่ IP Address ใส่ IP ให้ตรงตามDVR ดังแสดงในภาพที่ 9
                                             
                                         ภาพที่ 9  คลิกที่ IP Address ใส่ IP ให้ตรงตามDVR

          (4)  ใส่ Port ตรงตามที่เรากำหนดในDVR  ดังแสดงในภาพที่ 10
                                              
                                         ภาพที่ 10  ใส่ Port ตรงตามที่เรากำหนดในDVR 

          (5)  ใส่ User Name ของ DVR ดังแสดงในภาพที่ 11
                                           
                                                ภาพที่ 11  ใส่ User Name ของ DVR

          (6)  ใส่ Password ตามที่กำหนดใน DVR ดังแสดงในภาพที่ 12
                                                
                                       ภาพที่ 12  ใส่ Password ตามที่กำหนดใน DVR

          (7)  ตั้งชื่อหน้าแรกของโปรแกรม ดังแสดงในภาพที่ 13
                                              
                                              ภาพที่ 13  ตั้งชื่อหน้าแรกของโปรแกรม

6. ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ
                                 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม

              ตารางที่ 1  แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ
             

                                    การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ

              ตารางที่ 
2  การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
             

แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                   ข้อ 1   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 2   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                       ข้อ 3   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                            มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้
                   ข้อ 4   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 5   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                            มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้
                   ข้อ 6   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 7   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 8   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 9   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้     
                   ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                             จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                             ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                             มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 11 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                             จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                             ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                             มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 12 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                             จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                             ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                             มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 13 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                   ข้อ 14 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่าน้อยกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้
                   ข้อ 15 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                            จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                            ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                            มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้

                     แบบประเมินความพึงพอใจในการสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด​

        แบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิดเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้ ที่มีต่อโปรแกรม ผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด ให้มีความสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป

คำชี้แจง        แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
                   ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิดมีทั้งหมด 3 ด้านดังนี้
                         ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม (Functional Requirement Test)
                         ด้านที่ 2 ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันของโปรแกรม (Functional Test)
                         ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม (Usability Test)                      
                         ตอนที่ 3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ

ตอนที่ 1     เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                 โปรดทำเครื่องหมาย  ลงใน  ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน
1.  เพศ
           ชาย         หญิง
2.  อายุ
           ต่ำกว่า 15 ปี       16-20 ปี        20-25 ปี        26-30 ปี        สูงกว่า 30 ปี
3.  อาชีพของท่าน
           ไม่มีอาชีพ     เกษตรกร          ข้าราชการ      นักเรียน/นักศึกษา 
           อื่นๆ ระบุ..................................

ตอนที่ 2        เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด ซึ่งจะประเมินทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
                    ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม (Functional Requirement Test)
                     ด้านที่ 2 ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันของโปรแกรม (Functional Test)
                     ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้งานโปรแกรม (Usability Test)

คำชี้แจง        โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริงมากที่สุด
                        5 หมายถึง          ในระดับดี มากที่สุด
                        4 หมายถึง          ในระดับดี มาก
                        3 หมายถึง          ในระดับดี ปานกลาง
                        2 หมายถึง          ในระดับดี น้อย
                        1 หมายถึง          ในระดับดี น้อยที่สุด

               ตารางที่ ก.1  แบบประเมินผลความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิด
             
 
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
          โครงการครั้งนี้ เลือกนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เพื่อหาคำตอบของโครงการครั้งนี้โดยกำหนดเป็นขั้นตอนได้ดังนี้
             
                          ภาพที่ 14  ผังแสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสำหรับการประเมิน

                                       
                    ภาพที่ 15  การใช้งานโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด

                                      
                      ภาพที่ 16  การใช้งานโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
 
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
1)  การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิณ
     การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์                                                   
                            
            IOC   คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency)
            คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
             N      คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
2)  การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ
                               
                แทน คะแนนเฉลี่ย

           แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

             N     แทน จำนวนข้อมูล
        3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation)
                         
              S.D  คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง  

             คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง

              คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
                N        คือ จำนวนข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
 
10. ผลของการวิจัย
          การวิเคราะห์ข้อมูล การสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด มีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังต่อไปนี้
 
           ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 5 ตอน ดังนี้
                        ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                        ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้
                        ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน
                        ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งาน
                        ตอนที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน

ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
              ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
              
               จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20 คน เป็นเพศชาย 18 คน คิดเป็น 90% เพศหญิง 2 คน คิดเป็น 10% และอายุส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ 16-20 ปี คิดเป็น 100% ประสบการณ์ในการใช้โปรแกรมคิดเป็น 100%

ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
         ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด ด้านการตรงตามความผู้ใช้งาน คือในแต่ละฟอร์มการทำงานของโปรแกรมตรงตามความต้องการใช้งานของผู้ใช้ เหมาะกับการใช้งานโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด
              ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
             
               จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัย ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุดมีค่าเฉลี่ยคือ (  = 1.58) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเมิน พบว่า ความสามารถของโปรแกรมส่วนการเลือกดูกล้องแต่ละตัวมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ (  = 1.75) และความสามารถของโปรแกรมส่วนการแสดง Settings มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ (  = 1.45)

ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน
         ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน คือโปรแกรมมีความสะดวกในการใช้งาน ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว
              ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน
             
               จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัย ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยคือ (  = 1.50) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเมิน พบว่า ความพึงพอใจความน่าเชื่อถือของโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ (  = 1.60) และการใช้คำสั่งต่างๆในส่วนของเมนูมีความสะดวกมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ (  = 1.35)

ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งาน
         ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิดด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งาน คือในส่วนของรูปร่าง ลักษณะโปรแกรมใช้งานได้ง่าย และข้อความที่ใช้ในการแสดงผลสามารถเข้าใจได้ง่าย
              ตารางที่ 7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งาน
             
               จากตารางที่ 7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยคือ (  = 1.53) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเมิน พบว่า ความพึงพอใจความเหมาะสมในการใช้ข้อความเพื่ออธิบายความหมายของโปรแกรมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ (  = 1.65) และความเหมาะสมในการใช้ขนาดหน้าจอที่ใช้ดูภาพใหญ่พอดีจอมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ (  = 1.50)

ตอนที่ 5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน
         สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด มีดังนี้
              ตารางที่ 8  แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน
             
               จากตารางที่ 8 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัย ด้านการตรงตามความต้องการผู้ใช้งาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ยคือ (  = 1.53) และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเมิน พบว่า ความพึงพอใจด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงานมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ (  = 1.58) และด้านรูปลักษณ์และความง่ายยากต่อการใช้งานมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ (  = 1.50)
 
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
          จากผลการสร้างและหาประสิทธิภาพโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด พบว่าโปรแกรมควบคุมระบบความปลอดภัยโดยกล้องวงจรปิด สามารถใช้งานได้จริงแต่ยังมีข้อบกพร่องบางส่วน โดยจุดเด่นของโปรแกรมคือ โปรแกรมสามารถต่อกับเครื่องบันทึกรุ่น Hiview Model: HV-04ME ได้เนื่องจากรองรับการควบคุมและดูผ่าน Internet , Symbian และจุดด้อยของโปรแกรมคือ
          1.  ไม่สามารถต่อกับเครื่องบันทึกที่มีในแผนกได้เนื่องจากของแผนกเป็นเครื่องบันทึกรุ่น Hiview Model h.264 ไม่ได้เพราะไม่รองรับการควบคุมและดูผ่าน Internet , Symbian
          2.  ไม่สามารถแสดงภาพกล้องวงจรปิดได้
 
12. ข้อเสนอแนะ
1  ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
    1.1  ควรศึกษาในด้านเนื้อหาของโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นก่อนใช้งาน
    1.2  ควรศึกษากลุ่มคำสั่งต่างๆของโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นก่อนใช้งาน
2  ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
    2.1  ควรทำให้สามารถดูกล้องพร้อมกันได้           
    2.2  ในการออกแบบโปรแกรมควรคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นส่วนใหญ่
 
13. บรรณานุกรม
ประสาน นาจำเริญ. ทฤษฎีระบบเครือข่าย. 2559. [ออน-ไลน์].
            แหล่งที่มา : http://hospital.moph.go.th/sapphaya/DownLoad/Download/คำอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง%Port.htm
mitsumasa. Json .Net. 2559. [ออน-ไลน์].
            แหล่งที่มา : http://www.tutorialdev.com/download/json
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ
                                                 
          ชื่อ-สกุล            
นายอิทธิกร  ทิพย์รัตน์ 
          เกิดเมื่อวันที่  
      11 ธันวาคม 2539
          ที่อยู่ปัจจุบัน         19 หมู่ 3 ตำบลสูงเม่น อำเภอเมือง จังหวัดแพร่  54000
          วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
                             
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 
          รหัสนักศึกษา  
      5831280027 
          เบอร์โทร        
   061-7985969
          อีเมล์                   -

                                                
          ชื่อ-สกุล            นายธนภณ  วงทะนะ 
          เกิดเมื่อวันที่        
21 ตุลาคม  2539
          ที่อยู่ปัจจุบัน         49   ม.9  ต.เหมืองหม้อ  อ.เมือง  จ.แพร่  54000
          วุฒิการศึกษา       ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
                             สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 
          รหัสนักศึกษา        
5831280037
          เบอร์โทร            096-7630678 
          อีเมล์               
tanapon-ball@hotmail.com 
 
ลิงค์ Youtube vdo