ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การสร้างและหาประสิทธิภาพโครงการธนาคารความดี
2. จัดทำโดย
    1. 1. นายสหพันธ์ สิงคะปะ
    2. 2. นายธนากานต์ เนตรทิพย์
    3.
3. อีเมล์
sahapan007@hotmail.com, saipoppy007@gmail.com
4. บทคัดย่อ
          โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนในรายวิชา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุบนระบบวินโดว์ (3128-2003) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
          การดำเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ( (  x̅  ) ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้เว็บไซต์ในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้เว็บไซต์ด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 20 ชุดในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอน ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย 4.50
 
5. บทนำ
          ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็นอย่างมากเพราะทาให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื่องจากอินเทอร์เน็ตจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ ในปัจจุบัน และสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นให้ผู้ใช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวันสารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรูปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของผู้ใช้ทุกกลุ่มอินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางหรืออยู่ที่ที่ห่างกันและสามารให้คาปรึกษาได้ทันทีหรือแม้แต่การรับรู้ข่าวสารทางเว็บไซต์ก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่างๆ
          เนื่องจากทางวิทยาลัยเทคนิคแพร่ได้มีการจัดโครงการธนาคารความดีขึ้นโดยให้นักศึกษาทุกคนไปปฏิบัติความดีเพื่อส่งเสริมปลูกจิตสานึกในด้านจิตอาสาดังนั้นจึงได้จัดทาสมุดบันทึก โครงการธนาคารความดีโดยให้นักศึกษาจดบันทึกความดีของตนเองลงไปโดยมีอาจารย์เป็นผู้ตรวจและรับทราบด้วยเรื่องโครงการธนาคารความดีนั้น จากเดิมได้มีการใช้งานและจดบันทึกข้อมูลอยู่ในรูปแบบสมุดจดทาความดีดังนั้นปัญหาที่พบคือ สมุดเกิดการเสียหายหรือสูญหายบ่อยครั้ง ยากต่อการจัดเก็บและเรียบเรียง แต่ในปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีฐานข้อมูลเกิดขึ้นทาให้สามารถบริหารจัดการข้อมูลต่างๆได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นบวกกับผู้คนหันมาสนใจทางด้านเทคโนโลยีและอินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้น
          ทางผู้จัดทาโครงการได้เล็งเห็นถึงปัญหาจึงได้จัดทาโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูล โครงการธนาคารความดีขึ้นเพื่อให้นักศึกษาสามารถจดบันทึกข้อมูลโครงการธนาคารความดีผ่านเว็บไซต์ได้ สามารถบันทึกข้อมูลและตรวจสอบได้ทุกที่ ทุกเวลาทาให้ง่ายต่อการเข้าถึงและลดปัญหาการชารุดหรือสูญหายของสมุดจดบันทึกธนาคารความดี ที่โดยปกติแบบเดิมจะเป็นสมุดจดที่นักศึกษามักจะทาหายบ่อยๆ เราจึงได้จัดทาระบบโปรแกรมนี้ขึ้นเพื่อป้องกันการสูญหายทางด้านข้อมูลเอกสารเพราะมันจะอยู่ในอินเทอร์เน็ตทางเว็บของแผนกส่วนทางด้านอาจารย์สามารถเข้าไปตรวจสอบข้อมูลของนักศึกษาได้ง่ายขึ้นสะดวกต่อการค้นหาโดยใช้ภาษา HTML ในการเขียนฐานข้อมูลนี้ลงในเว็บ
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1)  เพื่อสร้างโปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการธนาคารความดี
2)  เพื่อหาประสิทธิภาพโปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการธนาคารความดี
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
โปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการธนาคารความดี
      1.  ด้านเนื้อหา
              (1)  ระบบ DATABASE
              (2)  ภาษา HTML
              (3)  ประวัติของโปรแกรม HTML
              (4)  โครงสร้างคาสั่งของ HTML
              (5)  โครงสร้างหลักของHTML
              (6)  ภาษา PHP
              (7)  codeigniter php Framework
              (8)  การทางานของภาษาต่างๆ
              (9)  เชื่อมต่อเอกสารด้วย hyperlink
              (10)  ลิงค์เว็บภายนอก
              (11)  รูปแบบของ from
              (12)  การใส่ภาพพื้นหลัง ให้กับเว็บเพจ
              (13)  ประวัติความเป็นมาของ Adobe Photohop
      2.  การเขียนและออกแบบเว็บไซต์
              (1)  การเขียนและออกแบบเว็บไซต์
              (2)  คาสั่งในการจัดหน้า
              (3)  เชื่อมต่อเอกสารด้วย Hyperlink
              (4)  List จัดข้อมลในเว็บให้เป็นระเบียบ
              (5)  CSS Syntax
              (6)  การงาน CSS
     3.  ด้านขอบข่ายมีรายละเอียดดังนี้
              (1)  ความสามารถของโปรแกรมโครงการธนาคารความดีมีดังนี้
              (2)  เก็บข้อมูลของโครงการธนาคารความดีได้
              (3)  นักศึกษาสามารถบันทึกข้อมูลธนาคารความดีของแต่ละคนได้
              (4)  อาจารย์ผู้สอนสามารถเข้ามาตรวจสอบข้อมูลธนาคารความดีของนักศึกษาแต่ละคนได้
              (5)  ด้านระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2559
              (6)  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับ
              ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจานวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
 
8. สมมุติฐาน
        โปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการธนาคารความดี ใช้ในการรวบรวมจัดเก็บ ข้อมูลโครงการธนาคารความดี ของนักศึกษา เพื่อง่ายต่อการค้นหาและตรวจสอบข้อมูล
 
9. วิธีดำเนินการวิจัย
   1 ) ศึกษาข้อมูลเพื่อเตรียมการโครงการ ผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบเว็บไซต์การออกแบบฐานข้อมูลและการเขียนระบบโดยภาษา PHP ร่วมกับ MySQL
   2 ) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวการทำงานของเว็บไซต์และกำหนดขอบเขตเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน
   3 ) การสร้างและออกแบบ เว็บไซด์โครงการธนาคารความดี
   4 ) ทดสอบหาประสิทธิภาพของเว็บไซด์โครงการธนาคารความดี มีการใช้แบบประเมินประสิทธิภาพจากผู้เชี่ยวชาญ และแบบประเมินความพึงพอใจจากผู้ทดลองใช้
   5 ) กำหนดกลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 20 คน วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
   6 ) สอนการใช้งานเว้บไซต์ให้กับที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
   7 ) นักศึกษาทดลองใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี
 
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา มีจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง
 
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
         การสร้างและหาประสิทธิภาพเว็บโครงการธนาคารความดีมีขั้น ตอนในการออกแบบ โดยมีรายละเอียด ดังแสดงนี้
              
                          ภาพที่ 1 ลำดับขั้นตอนการดำเนินโครงการ

 1.  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
 2.  ศึกษาทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
 3.  กำหนดขอบเขตของการสร้างโปรแกรม และฐานข้อมูลที่ใช้เขียนโปรแกรม
 4.  ออกแบบและสร้างเว็บไซต์โครงการธนาคารความดี
                 
                          ภาพที่ 2 แผนผังการทำงานของโปรแกรม

              
                          ภาพที่ 3 การทางานของโปรแกรม

5.  เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี
    1)  ภาพรวมของเว็บไซต์
          
                          ภาพที่ 4 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์

          
                          ​    ภาพที่ 5 เข้ารหัสล็อคอินได้แล้ว

          
                          ​    ภาพที่ 6 แสดงหน้าตารางสถานะทั้งหมด

6.  การใช้งานโปรแกรม
    1)  คลิกที่เมนู โปรแกรมแปลงรหัส ดังแสดงในภาพที่ 3.7 ถึง 3.9

          
                          ​    ภาพที่ 7 คลิกที่เมนู โครงการธนาคารความดี

    2)  คลิกที่เมนู เพิ่มเพื่อกรอกข้อมูล

          
                          ​    ภาพที่ 8 คลิกเมนูเพื่อกรอกข้อมูล

    3)  กรอกข้อมูลแล้วกดบันทึก

          
                          ​    ภาพที่ 9 คลิกเมนูเพื่อกรอกข้อมูล

6.  ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพ

                                 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม

     ตารางที่ 1  การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
     ข้อที่ ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ IOC แปลผล

ผู้ทรงคุณวุฒิ 1
 
ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ผู้ทรงคุณวุฒิ 3
ข้อ 1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
ข้อ 2  0 +1 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ 3 +1  +1  0 0.667 ใช้ได้
ข้อ 4  0  0 +1 0.333 ใช้ได้
ข้อ 5 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
ข้อ 6  0  0 +1 0.333 ใช้ได้
ข้อ 7 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ 8 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ 9 +1 +1 +1 1 ใช้ได้
ข้อ 10 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ 11 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ 12 +1 +1  0 0.667 ใช้ได้
ข้อ  13 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ  14 +1  0 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ  15  0 +1 +1 0.667 ใช้ได้
ข้อ  16 +1 +1  0 0.667 ใช้ได้
 
แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                         ข้อ 1   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 2   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 3   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 4   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 5  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2=3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 6  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 7   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 8   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 9   ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้     
                         ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 11 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                       จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                      ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                      มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้
                         ข้อ 12 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                      จำนวนผู้เชี่ยวชาญ  3  คน
                                       ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                                       มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ได้

                                    การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
                แบบประเมินความพึงพอใจในการสร้างและหาประสิทธิภาพโครงการธนาคารความดี
                แบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อการสร้างและหาประสิทธิภาพโครงการธนาคารความดี  เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้ ที่มีต่อโปรแกรมผลการประเมินของท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการปรับปรุงโปรแกรม ให้มีความสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป
 
คำชี้แจง  แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
             ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             ตอนที่ 2 ความสะดวกในการใช้งานโครงการธนาคารความดี มีทั้งหมด 3 ด้านดังนี้
                     ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
                     ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
                     ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้การโปรแกรม
             ตอนที่ 3 เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
 
ตอนที่ 1  เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             โปรดทำเครื่องหมาย  ลงใน  ที่อยู่หน้าข้อความที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมิน
1.  เพศ
              ชาย        ​ หญิง
2.  อายุ
             ​ ต่ำกว่า 15 ปี  ​ 16-20 ปี             ​ 20-25 ปี         ​ 26-30 ปี         ​ สูงกว่า 30 ปี
3.  อาชีพของท่าน
             ​ ไม่มีอาชีพ    ​ เกษตรกร           ​ ข้าราชการ      ​ นักเรียน/นักศึกษา 
             ​ อื่นๆ ระบุ..................................


ตอนที่ 2  เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้โครงการธนาคารความดี
ซึ่งจะประเมินทั้งหมด 3 ด้าน ดังนี้
                       ด้านที่ 1 ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม
                       ด้านที่ 2 ด้านการทำงานตามฟังก์ชันการทำงาน
                       ด้านที่ 3 ด้านความง่ายต่อการใช้การโปรแกรม
คำชี้แจง        โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความจริงมากที่สุด
                        5 หมายถึง          ในระดับดี มากที่สุด
                        4 หมายถึง          ในระดับดี มาก
                        3 หมายถึง          ในระดับดี ปานกลาง
                        2 หมายถึง          ในระดับดี น้อย
                        1 หมายถึง          ในระดับดี น้อยที่สุด
     ตารางที่ 2  แบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้โครงการธนาคารความดี


ข้อเสนอแนะ
       ...........................................................................................................................................
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
          โครงการครั้งนี้ เลือกนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา เพื่อหาคำตอบของโครงการครั้งนี้โดยกำหนดเป็นขั้นตอนได้ดังนี้

        
                  ​ภาพที่ 10 ผังแสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสำหรับการประเมิน

                
                ภาพที่ 11 การใช้งานเว็บไซต์โครงการธนาคารความดี

                
                ภาพที่ 12 การใช้งานเว็บไซต์โครงการธนาคารความดี
 
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
1)  การวิเคราะห์คุณภาพของแบบประเมิน
     การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินและวัตถุประสงค์                                                   
                            
            IOC   คือ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(Index of Congruency)
            คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
             N      คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
2)  การวิเคราะห์หาคุณภาพชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญ
                               
                แทน คะแนนเฉลี่ย

           แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด

             N     แทน จำนวนข้อมูล
3)  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard Deviation)
                         
              S.D  คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง  

             คือ ผลของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสอง

              คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง
                N        คือ จำนวนข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง
 
10. ผลของการวิจัย
          การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดีมีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยขอนาเสนอตามลาดับ โดยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล รวม 5 ตอน ดังนี้

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอรวม 5 ตอน ดังนี้
                ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้          เว็บไซต์
                ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านการทางานได้ตาม ฟังก์ชันกา              ทำงาน
                ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านรูปลักษณ์และความ ง่ายยากต่อ          การใช้งานเว็บไซต์
                ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมในภาพรวมทุกด้าน

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          x̅ แทน ค่าเฉลี่ย
          S.D แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
          P แทน ค่าร้อยละ

ตอนที่ 1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
              ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
              
             จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 20 คน เป็นเพศชาย 20 คน คิดเป็น 100% และอายุส่วนใหญ่อยู่ที่เกณฑ์ 16-20 ปี คิดเป็น 100% ประสบการณ์ใช้งานโปรแกรมคิดเป็น 100%

ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี ด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ คือ ในแต่ละฟอร์มการทางานระบบด้านการตรงตามความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ เหมาะสมกับการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี
              ตารางที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้โปรแกรมด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้
             
              จากตารางที่ 4 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี ด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ (x̅ = 4.54) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความสามารถของเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (x̅ = 4.65) และด้านความสามารถความสามารถในการค้นหารหัสแอสกี้ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (x̅ = 4.45)

ตอนที่ 3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันการทางาน
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนภาษาซี ด้านการทางานตามฟังก์ชันการทางาน คือระบบมีความสะดวกในการใช้งาน ใช้งานได้อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว
              ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านการทางานได้ตามฟังก์ชันการทำงาน
             
              จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี ด้านการทางานตามฟังก์ชันการทางาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด คือ (x̅ = 4.53) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านเว็บไซต์มีระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (x̅ = 4.60) และด้านความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหารหัสแอสกี้ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (x̅ = 4.40)

ตอนที่ 4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี ด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์ คือระบบมีความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน
              ตารางที่ 6  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์
             
              จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้เว็บไซต์โครงการธนาคารความดี ด้านความง่ายต่อการใช้การเว็บไซต์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก คือ (x̅ = 4.45) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยความพึงพอใจด้านความเหมาะสมในการใช้สัญลักษณ์หรือรูปภาพในการสื่อความหมาย มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (x̅ = 4.60) และด้านความเหมาะสมในการใช้ข้อความเพื่ออธิบายสื่อความหมายของเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ (x̅ = 4.30)

ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้เว็บไซต์ในภาพรวมทุกด้าน
              สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการโครงการธนาคารความดี มีดังนี้
              ตารางที่ 7  แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้เว็บไซต์ในภาพรวมทุกด้าน
             
              จากตารางที่ 7 ความพึงพอใจในการใช้โครงการธนาคารความดี โดยภาพรวมทุกด้าน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย คือ (x̅ =4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมินในแต่ละด้าน พบว่า ด้านการใช้ระบบด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้โปรแกรม มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ (x̅ =4.54) และด้านการใช้ระบบด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ย ต่าที่สุด คือ (x̅ =4.45)
 
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
             จากผลสร้างและหาประสิทธิภาพโครงการธนาคารความดี พบว่าเว็บไซต์ สามารถใช้งานได้จริงและเป็นประโยชน์ต่อการใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ในรายวิชา การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุบนระบบวินโดว์ (3128-2003) จุดเด่นของโปรแกรมนั้นสามารถค้นหาบทเรียนที่ต้องการได้ทั้งหมดทุกบทเรียนที่มีภายในเว็บและยังมีระบบในการค้นหาเลขฐานต่างๆด้วยโครงการธนาคารความดี ยังมีหน้าการบันทึกและยังสามารถลดเวลาในการค้นหารายการที่จดบันทึกป้องกันการสูญหายได้อีกด้วยเนื่องจากมีระบบในการค้นหารายการที่จดบันทึกที่ต้องการที่เข้าใจง่ายไม่ยุ่งยากและกานค้นหาระบบแอสกีนั้นมีความแม่นยาและถูกต้องในการค้นหาไม่จาเป็นต้องไปซื้อหรือจดสมุดความดีให้เสียเวลาเพียงแค่ค้นหาจากตัวอักษรที่ต้องการระบบจะทาการค้นหาให้อย่างง่ายและรวดเร็ว และหลังจากเข้าใจในบทเรียนตัวเว็บไซต์เองยังมีระบบทาแบบทดสอบหลังการเรียนรู้ได้อีกด้วยจึงทาให้ user นั้นสามารถทดสอบความสามารถของตนเองได้และยังสามารถเก็บคะแนนในแต่ละบทลงไปได้อีกด้วยเพื่อวัดระดับคะแนน
             นอกจากจุดเด่นและจุดด้อยของโปรแกรมยังมีด้านความต้องการของผู้ใช้โปรแกรมและด้านฟังก์ชันการทางานอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านความง่ายต่อการใช้โปรแกรมอยู่ในระดับมาก เพราะโปรแกรมตอบสนองถึงความต้องการของผู้ใช้ในด้านการเรียนรู้ รวมถึงเนื้อหาอีกทั่งในส่วนของเมนูยังสะดวกต่อการค้นหาสาหรับผู้ใช้งาน ผู้จัดทาจึงได้วิเคราะห์และออกแบบระบบโดยนึกถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก
 
12. ข้อเสนอแนะ
1)  ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
     1.1)  ควรปฏิบัติตามข้อแนะนาคู่มือการใช้งาน
     1.2)  ผู้ใช้จะต้องมีความรู้ก่อนทาแบบทดสอบ
2)  ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
     2.1)  ควรเพิ่มเนื้อหาให้มากกว่านี้
     2.2)  ควรทาแบบทดสอบให้มีความตรงกับที่ได้เรียนมากกว่านี้
     2.3)  ในการออกแบบควรนึกถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นส่วนใหญ่
 
13. บรรณานุกรม
การพัฒนาของภาษาคอมพิวเตอร์. [ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 30 มกราคม 2560
                     จาก: http://nun.anc.ac.th/prawati-khxng-phasa-si
การใช้งานคำสั่งของเว็บไซต์. [ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 31 มกราคม 2560
                     จาก: http://www.w3schools.com/
วิศรุต พลสิทธิ. พื้นฐานภาษาซี.
                     นนทบุรี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บัญชา ปะสีละเตสัง. พัฒนาเว็ปแอปพลิเคชั่น HTML ร่วมกับ MySQL และDreamweaver.
                     กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น
ประวัติความเป็นมาของภาษาซี. [ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 31 มกราคม 2560
                     จาก: https://sites.google.com/site/bbmm2553/prawati-khwam-pen-ma-khxng-phasa-si
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ
                     ​ 

ชื่อ-สกุล               นายธนากานต์    เนตรทิพย์
เกิดเมื่อวันที่            6 ธันวาคม 2538
ที่อยู่ปัจจุบัน            131 ม.5 ต.บ้านปิน อ.ลอง จ.แพร่ 54150
วุฒิการศึกษา          ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
                      สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 
รหัสนักศึกษา           
5831280039 
เบอร์โทร               062-2709805
อีเมล์                  Saipoppy007@gmail.com

 
                     
 
ชื่อ-สกุล                นายสหพันธ์    สิงคะปะ
เกิดเมื่อวันที่             6 กรกฏาคม 2539
ที่อยู่ปัจจุบัน             158 หมู่ 2 ต.แม่ยางตาล อ. ร้องกวาง จ. แพร่ 54140
วุฒิการศึกษา           ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
                       
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขางานคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 
รหัสนักศึกษา  
          5831280031 
เบอร์โทร                
086-3456541
อีเมล์                   Sahapan007@hotmail.com
           
 
ลิงค์ Youtube vdo