ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมท
2. จัดทำโดย
    1. นายพชร วงศ์หน่อ
    2. นางสาวมาวารินทร์ อินต๊ะแสน
    3. นายธีรุตม์ เหมืองหม้อ
3. อีเมล์
ping_pingza604@hotmail.com , Mawarinint@hotmail.com , jeff_thirut@hotmail.com
4. บทคัดย่อ
        โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพการสร้างและพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิว
ควบคุม ด้วยรีโมทบังคับวิทยุ สำหรับการแจกใบปลิวตามที่ต่างๆสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.สาขาวิชาเทคนิคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

        การดำเนินการโครงการใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางาน
เทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่า
เฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวควบคุม ด้วยรีโมทบังคับ
วิทยุทั่วไปในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้พัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวควบคุม ด้วยรีโมทบังคับวิทยุ สำหรับ
การแจกใบปลิวตามที่ต่างๆ ตนเองเสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้พัฒนาหุ่น
ยนต์แจกใบปลิวควบคุม ด้วยรีโมทบังคับวิทยุ

        ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า การสร้างและพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวควบคุม ด้วยรีโมทบังคับวิทยุ
สำหรับการแจกใบปลิวตามที่ต่างๆ ที่สร้างขึ้นผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อยโดยมีค่าเฉลี่ย 1.81
 
5. บทนำ
        ปัจจุบันการแจกเอกสารใบปลิวเพื่อโฆษณาและโปรโหมดสินค้า ยังใช้แรงงานคนเพื่อแจกเอกสาร
ใบปลิวอยู่ และพบว่ามีปัญหาเกิดขึ้น เช่น ผู้แจกอัธยาศัยไม่ดีทำให้คนที่เดินผ่านไปผ่านมาไม่ค่อยจะรับ
เอกสารใบปลิว เอกสารใบปลิวมีการออกแบบที่ไม่น่าสนใจไม่ดึงดูดผู้คน เป็นต้น การออกแบบใบปลิวและ
อัธยาศัยของผู้แจก ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญในการแจกเอกสารใบปลิวที่จะทำให้การแจกใบปลิวเป็นไป
อย่างราบรื่น เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าอย่างมากในปัจจุบันและมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งาน ทดแทนแรงงาน
คนในปัจจุบัน ซึ่งช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และอำนวยความสะดวกได้เป็นอย่างมาก หุ่นยนต์แจกใบปลิวเป็นผล
งานที่นำมาใช้งานเพื่อ แจกใบปลิวทดแทนแรงงานคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย และ ดึงดูดผู้คนที่ผ่านมา
พบเห็นและสนใจในชิ้นงาน  

        จากที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับหุ่นยนต์และกางแจกใบปลิว  ได้พบว่า มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่นิยมเรื่องแจกใบปลิว
หรือไม่ถนัดในเรื่องนี้ แต่สำหรับหุ่นยนต์ หุ่นยนต์ยังสามารถทำงานแทนมนุษย์ได้หลายอย่าง เช่น การแจก
ใบปลิวในที่ต่างๆ พวกเราจึงคิดและออกแบบทำหุ่นยนต์แจกใบปลิวขึ้นมา สนองความต้องการของมนุษย์ ใน
ยุคนี้

         ดังนั้นคณะผู้จัดทำโครงการจึงนำเสนอโครงการพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมท
วิทยุ เพื่อความต้องการของมนุษย์ ช่วยเพิ่มความสะดวกสบายและดึงดูดความสนใจของผู้คนมากมายในการ
แจกใบปลิวตามสถานที่ต่างๆ
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
6.1 เพื่อพัฒนาเครื่องแจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมโดยรีโมทบังคับวิทยุ
6.2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องแจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมโดยรีโมทบังคับวิทยุ
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
7.1 ด้านเนื้อหาสาระที่ต้องการพัฒนา
      7.1.1 เครื่องพิมพ์
      7.1.2 รีโหมดบังคับวิทยุ
      7.1.3 รีซิฟเวอร์
      7.1.4 รถบังคับ
      7.1.5 DC Motor
7.2 ด้านระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการ
      ผู้วิจัยใช้เวลาดำเนินการวิจัย เริ่มตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ตลอดจนถึงภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
8. สมมุติฐาน
      สร้างและหาประสิทธิภาพการสร้างและพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวควบคุมด้วยรีโมทวิทยุ เพื่อใช้ในการแจก
ใบปลิว สำหรับสถานที่ทั่วไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. วิธีดำเนินการวิจัย
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
      ประชากรที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิค
คอมพิวเตอร์ จำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง 
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
3.1   วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประมาณความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรม
        เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องและสามารถแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้น โครงการพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุศึกษาสภาพปัญหา พบว่า
        3.1.1  การแจกใบปลิวต้องมีต้องมีพนักงานมาแจกทุกครั้ง
        3.1.2  พนักงานบางคนอัธยาศัยไม่ดี
3.2   ศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
        ความเป็นมาของใบปลิว
        ใบปลิว คือ เครื่องมือทางการตลาดที่นิยมนำมาใช้เพื่อ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ แนะนำผลิตภัณฑ์ หรือ
ข่าวกิจกรรม ของบริษัท หน่วยงาน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กิจกรรมนั้นๆ บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ใบปลิว
สามารถจัดทำได้ง่าย สะดวก และครอบคลุมเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย ใบปลิว เป็นทางเลือกหนึ่ง ที่จะทำให้
กิจกรรมทางการตลาด ประสบความสำเร็จ เพราะสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ง่าย ตัวอย่างใบปลิว เช่น ใบปลิว
แนะนำสินค้า ใบปลิวเสนอบริการ ใบปลิวส่งเสริมการขาย ใบปลิวลดราคาสินค้า ใบปลิวคูปองสินค้า ใบปลิว
แนะนำสถานศึกษา ใบปลิวแนะนำสถานที่เที่ยว ใบปลิวแนะนำร้านค้า ใบปลิวแจ้งข่าวสาร ใบปลิวตาราง
กิจกรรม ใบปลิวรับสมัครสมาชิก ใบปลิววิธีใช้สินค้า ใบปลิวเผยแพร่กิจกรรม ใบปลิวชักชวนเข้าร่วมกิจกรรม
ฯลฯ
       
3.3   กำหนดวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
        การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
ตารางที่ 3-1 วัสดุและอุปกรณ์

3.4   ออกแบบสร้างและพัฒนานวัตกรรม
        ได้ออกแบบโครงสร้าง ดังแสดงในภาพที่ 3-2 และ 3-3


     แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์

     แบบประเมินการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการ
ทำงานของหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุในแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในวิทยาลัย
เทคนิคแพร่ ผลการประเมินของทานจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงการทำงานของหุ่นยนต์แจก
ใบปลิวให้สมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป
 
คำชี้แจง             แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
            ตอนที่ 1  เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
            ตอนที่ 2  ความสะดวกในการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวมีทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้
                         ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างหุ่นยนต์แจกใบปลิว ความแข็งแรงทนทาน
                        ด้านที่  2  ด้านการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
                        ด้านที่  3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
                        ด้านที่  4  คุณค่าโดยสรุป
            ตอนที่ 3  เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
 
ตอนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2  เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวซึ่งประเมินทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้
              ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างหุ่นยนต์แจกใบปลิวความแข็งแรงและทนทาน
              ด้านที่ 2  ด้านการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
              ด้านที่ 3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
              ด้านที่ 4  คุณค่าโดยสรุป
 
คำชี้แจง  โปรดทำเครื่องหมาย/ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด
 ตารางที่ 3-2 รายการประเมินด้านโครงสร้างและการใช้งาน  

ข้อเสนอแนะนำ
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                                                         
                                                                                ........................................                                                                                                   (                                       )
                                                                                          ผู้ทรงคุณวุฒิ

แบบประเมินประสิทธิภาพของหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุ
            วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุ ระหว่าง
ความสมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเนกับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค
ดังนี้
ตารางที่ 3-3 การวิเคราะห์เลือกคำถามจากผู้เชี่ยวชาญ
 
แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                        ข้อ  1  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  2  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  3  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.33
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  4  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  5  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  6  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.33
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  7  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  8  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  9  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                        ข้อ  10  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                   จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                   ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                   มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง

แบบประเมินประสิทธิภาพของหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุ
            วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุระหว่าง
ความสามมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเนกับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค
ดังนี้

 ตารางที่ 3-4  แบบประเมินประสิทธิภาพของหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุ

            แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์

     แบบประเมินการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการ
ทำงานของเครื่องตู้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุในแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ใน
วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ผลการประเมินของทานจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงการทำงานของหุ่นยนต์
แจกใบปลิวและดียิ่งขึ้นไป
 
คำชี้แจง             แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
            ตอนที่ 1  เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
            ตอนที่ 2  ความสะดวกในการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวมีทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้
                         ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างหุ่นยนต์แจกใบปลิว ความแข็งแรงทนทาน
                        ด้านที่  2  ด้านการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
                        ด้านที่  3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
                        ด้านที่  4  คุณค่าโดยสรุป
            ตอนที่ 3  เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
 
ตอนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
 
ตอนที่ 2  เป็นแบบประเมินความพึงพอใจ ในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวซึ่งประเมินทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้
              ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างหุ่นยนต์แจกใบปลิวความแข็งแรงและทนทาน
              ด้านที่ 2  ด้านการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
              ด้านที่ 3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
              ด้านที่ 4  คุณค่าโดยสรุป
 
 ตารางที่ 3-5 แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่บังคับด้วยรีโมทบังคับวิทยุ
 
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
 
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

10. ผลของการวิจัย
          การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการใช้เครื่องหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ มีการวิเคราะห์โดย
แยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังนี้
การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 7 ตอนดังนี้
          ตารางที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
          ตารางที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
          ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในการใช้งาน
          ตารางที่5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความคุ้มค่า
          ตารางที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
          ตารางที่7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                      แทนค่าเฉลี่ย
                 S.D. แทนค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                 P      แทนค่าร้อยละ

            4.1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                     ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
                     ตารางแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของหุ่นยนต์แจกใบปลิว
 
    ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
  
              จากตารางที่ 4-1 สามารถอธิบายผลการเปรียบเทียบ ได้ดังนี้
 
         (1)  ความแข็งแรงของ หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุมีความแข็งแรงของเครื่องจะมี 
ความคงทนสามารถใช้งานได้นาน ดังแสดงในภาพที่ 4-1

ภาพที่ 4-1แสดงภาพเครื่องที่มีความแข็งแรง
 
         (2)  น้ำหนักของหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ 10 กิโลกรัม สามารถ
เคลื่อนย้ายได้สะดวก ดังแสดงในภาพที่ 4-2

ภาพที่ 4-2 แสดงภาพน้ำหนักของหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
 
 
 
       (3) ขนาดของหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ มีขนาดกว้าง 40 เซนติเมตร
ยาว 35 เซนติเมตร สูง 70 เซนติเมตร ดังภาพที่ 4-3

ภาพที่ 4-3 แสดงภาพขนาดของหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
 
       (4) ความสะดวกในการใช้งานของเครื่อง หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ ภาพที่ 4-4
 
ภาพที่ 4-4 แสดงภาพความสะดวกสบายของหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
 
 
 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
 
        ตารางที่ 4-2 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม

              จากตารางที่ 4-2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด10คนเป็นเพศชาย 10 คน เพศหญิง 10 คน
คิดเป็น50% และมีอายุส่วนใหญ่ ที่ระหว่าง 17-18 ปี คิดเป็น 50% รองลงมามีอายุระหว่าง 17-18 ปีและ16-
17 ปี  คิดเป็น 50%
       
 ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุที่สร้างขึ้นสำหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ด้านความแข็งแรงของเครื่อง มีดังนี้
 
                      ตารางที่ 4-3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรม ด้านโครงสร้าง
 
              จากตารางที่ 4-3 ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุสำหรับนักศึกษา
แผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุที่สร้างขึ้น ด้าน
โครงสร้าง โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพอใจมาก (=1.85) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า
ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ ด้านโครงสร้าง สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิค
คอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคนิคแพร่หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ มีความพึงพอใจเรื่องวัสดุอุปกรณ์ที่
ใช้สร้างหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (=2.60) และ ขนาดของหุ่นยนต์แจก
ใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ ค่าเฉลี่ยน้อยสุด (=1.50)
    
 
ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการด้านใช้งาน
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิว
บังคับด้วยคลื่นวิทยุ ด้านการใช้งาน
 
     ตารางที่ 4-4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้งานนวัตกรรมด้านการใช้งาน
 
              จากตารางที่ 4-4 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้งานหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ที่สร้างขึ้นนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ ผู้ผ่านการหุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วย
คลื่นวิทยุที่สร้างขึ้นด้านการใช้งาน  โดยภาพรวมอยู่ในระดับที่พึงพอใจน้อยที่สุด(=1.8) และเมื่อพิจารณา
เป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการประเมินอยู่ในระดับน้อยที่สุด 
 
ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุทีสร้างขึ้นสำหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ด้านความคุ้มค่า
 
       ตารางที่ 4-5 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
  
              จากตารางที่ 4-5 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุสำหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ด้านความคุ้มค่า  โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด  (=1.80)  และเมื่อพิจารณาเป็นรายการ
ประเมิน พบว่า ทุกรายการประเมินอยู่ในระดับน้อยที่สุด          
 
ตอนที่ 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
              ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ สำหรับนักศึกษา
แผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ ด้าน
คุณค่าโดยสรุป
 
        ตารางที่ 4-6 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
 
           จากตารางที่ 4-6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุสำหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ที่สร้างคุณค่าโดยสรุป โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด (=1.0)

ตอนที่ 7 ผลกรวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
              สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วย
คลื่นวิทยุ ที่สร้างขึ้น ดังนี้
 
  ตารางที่ 4-7 แสดงผลกรวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
 
              จากตารางที่ 4-7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุรูปสำหรับ
นักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ผู้ผ่านการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวบังคับด้วยคลื่นวิทยุ
ทุกด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อยที่สุด  (=1.00) และเมื่อพิจารณาหลายด้าน ด้านคุณค่ามี
ความพึงพอใจมากที่สุด มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดด้านโครงสร้าง (=1.85) และด้านคุณค่ามีความพึง
พอใจน้อยที่สุดด้าน (=1.00)
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
          การพัฒนาเครื่อง หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุ เพื่อใช้สำหรับในการเป็นงาน
วิจัยประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่คณะผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นในการศึกษาวิชาโครงการตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพปีพุทธศักราช 2559 สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาหาประสิทธิภาพ
การทำงาน    หุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุ  ทำการทดลองการใช้งานเครื่องผ่านการ
ควบคุมโดยรีโมทบังคับวิทยุที่เชื่อมต่อกับวงจรบนรถบังคับวิทยุ และ เพื่อการใช้งานตู้ยาการทำงานของวงจร
และแบตเตอรี่ในรายวิชา โครงการ (2128-8503) สรุปผล การดำเนินงานวิจัยปัญหา ข้อเสนอแนะ และ
ประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้
5.1  สรุปผลการวิจัย
       5.1.1  การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุและหลักการทำงานของหุ่นยนต์
โดยใช้เป็นสัญญาณวิทยุในการควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวหุ่นยนต์ในการเคลื่อนที่ของตัวรถ ในการทดลอง
ใช้งานเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุ พบว่าความไม่แข็ง
แรงของเครื่องไม่ได้ตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ ขนาดของเครื่อง ขนาดของหุ่นยนต์ กว้าง 35 เซนติเมตร สูง 70
เซนติเมตร ยาว 44 เซนติเมตร ขนาดของลึกในการใส่ปริ้นเตอร์ กว้าง 16 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ใหญ่เกิน
ไปยากต่อการเคลื่อนย้าย และมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและซับซ้อน ราคาแพงถึง 7000บาทต่อเครื่อง
       5.1.2  ความพึงพอใจในการใช้การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุ โดยใช้เป็น
รถบังคับวิทยุเป็นตัวยึดกับตัวเครื่องแจกกระดาษในความต้องการ สร้างขึ้นด้านโครงสร้าง พบว่า ไม่มีความพึง
พอใจในความแข็งแรงและความน่าสนใจใน การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุการ
ทำงานของมอเตอร์ในรถบังคับวิทยุไม่เป็นไปตามที่ต้องการ และอยู่ในระดับพอใช้ และมีความพึงพอใจใน
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้การพัฒนาหุ่นยนต์แจกใบปลิวเคลื่อนที่ควบคุมด้วยรีโมทวิทยุความพึงพอใจในขนาดของหุ่น
ยนต์มีความพึงพอใจในความสวยงาม อยู่ในระดับปรับปรุง
       5.1.3  ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิวหลักการทำงานของหุ่นยนต์ใช้เป็นรถบังคับวิทยุเป็น
ตัวยึดกับตัวเครื่องแจกกระดาษตามที่ต้องการ ในการทดลองใช้งานที่สร้างขึ้น ด้านการใช้งานพบว่า มีความ
พึงพอใจในความง่ายต่อการใช้หุ่นยนต์แจกใบปลิว และมีความปลอดภัยในการใช้งาน อยู่ในระดับปรับปรุง
มีความพึงพอใจในการง่ายต่อการเคลื่อนย้ายของหุ่นยนต์ อยู่ในระดับปรับปรุง
       5.1.4  ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์หลักการทำงานของหุ่นยนต์โดยใช้หุ่นยนต์ตู้ใช้เป็นรถบังคับวิทยุ
เป็นตัวยึดกับตัวเครื่องแจกกระดาษตามที่ต้องการ สร้างขึ้นด้านคุณค่า พบว่ามีความพึงพอใจในหุ่นยนต์ช่วย
เสริมการเรียนรู้เรื่องวงจรมอเตอร์บนรถบังคับวิทยุและด้านการส่งสัญญาณเพื่อบังคับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
       5.1.5  ความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์บังคับวิทยุการทำงานของหุ่นยนต์ใช้เป็นรถบังคับวิทยุเป็นตัวยึ
ดกับตัวเครื่องแจกกระดาษตามที่ต้องการ สร้างขึ้น ด้านคุณค่าโดยสรุป พบว่ามีความพึงพอใจในใช้งานตู้ยา
อยู่ในระดับปรับปรุง
 
5.2  การอภิปรายผล
       จากการศึกษาและพัฒนาหุ่นยนต์ใช้เป็นรถบังคับวิทยุเป็นตัวยึดกับตัวเครื่องแจกกระดาษตามที่ต้องการ
เพื่อใช้เป็นประโยชน์ต่อการแจกใบปลิวตามสถานที่ต่างๆ พบว่าหุ่นยนต์แจกใบปลิว มีโครงสร้างไม่แข็งแรง
และขนาดของหุ่นยนต์แจกใบปลิว ถือว่าใหญ่เกินไป อีกทั้งตัวแจกกระดาษและความเหมาะสมคือ ความสูง
ประมาณ 70 เซนติเมตร กว้าง 35 เซนติเมตร ยาว 44 เซนติเมตร มีขั้นตอนการสร้างที่ยุ่งยาก และซับซ้อน
และราคาแพง 7000 บาทต่อเครื่องหุ่นยนต์และรถบังคับ ไม่สามารถนำไปใช้ได้จริง เนื่องจากหารถบังคับ
ขนาดใหญ่ไม่ได้ วงจรที่ใช้ในเครื่องพิมพ์เป็นโปรแกรมเดิมของเครื่องพิมพ์ จึงต้องกดเครื่องพิมพ์ถึงสองครั้ง
ถึงกระดาษจะออกมา โครงสร้างไม่เหมาะสมเนื่องจากมีขนาดใหญ่เกินไป
 
12. ข้อเสนอแนะ
5.3  ข้อเสนอแนะ
       5.3.1  ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้
              1)  จากผลการศึกษาและพัฒนาพบว่า หุ่นยนต์แจกใบปลิวควบคุมด้วยรีโมทบังคับวิทยุ สร้างขึ้น
เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการแจกใบปลิวตามสถานที่ต่างๆ หรือ บริษัทที่ต้องการแจกใบปลิวได้อย่างถูกต้อง ซึ่ง
ช่วยให้ความสะดวกและใช้งานได้ง่ายมากขึ้น
              2)  ในการใช้งานสิ่งที่ควรคำนึงถึง คือความปลอดภัยในหุ่นยนต์แจกใบปลิวในการใช้งาน ทำงาน
ของเครื่องจ่ายกระดาษต่อกับตัวรถบังคับวิทยุ
       5.3.2  ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
               1)  ควรเพิ่มความแข็งแรงของตัวแจกกระดาษให้มีความแข็งแรงมากในการใช้งานมากกว่านี้
               2)  ควรพัฒนาช่องเก็บปริ้นเตอร์ให้ปลอดภัยมากขึ้น
               3)  ควรพัฒนาการเชื่อมระหว่างตัวจ่ายกระดาษและรถบังคับวิทยุให้มีความมั่นคงมากขึ้น
               4)  ควรพัฒนาวงจรในเครื่องปริ้นเตอร์
               5)  ควรทำให้ขนาดของตัวหุ่นยนต์เล็กลงเพื่อการเคลื่อนย้ายที่ดี
5.4 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยและพัฒนาโครงการ
      5.4.1  ได้หุ่นยนต์แจกใบปลิว
      5.4.2  ทำให้สะดวกแก่การแจกใบปลิว
      5.4.3  ทำให้มีความสามัคคีกับกลุ่มที่เราทำโครงการ
 
13. บรรณานุกรม
การใช้งานหุ่นยนต์. (ออนไลน์)
http://www.thaigoodview.com/node/99741.
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 23 ธันวาคม 2559).
https://th.wikipedia.org/wiki/. (ออนไลน์)
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 23 ธันวาคม 2559).
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ
ประวัติผู้จัดทำโครงการ
 
 

ชื่อ-สกุล             นาย พชร   วงศ์หน่อ
เกิดเมื่อวันที่        15 มีนาคม 2542
ที่อยู่ปัจจุบัน        88 ม.11 ต.บ้านหนุนใต้ อ.สอง จ.แพร่ 54120
วุฒิการศึกษา      ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                         สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร             086-3841265
อีเมล์                  Ping_Pingza604@hotmail.com
 

 
ชื่อ-สกุล             นางสาว มาวารินทร์  อินต๊ะแสน
เกิดเมื่อวันที่        29 มกราคม 2541
ที่อยู่ปัจจุบัน        71/3 ม.8 ต.ไทรย้อย อ.เด่นชัย จ.แพร่ 54110
วุฒิการศึกษา      ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                         สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร             082- 4825379
อีเมล์                  Mawarinint@hotmail.com
 


ชื่อ-สกุล             นายธีรุตม์  เหมืองหม้อ
เกิดเมื่อวันที่         8 กันยายน  2541
ที่อยู่ปัจจุบัน        99/2 ม.2 ต.น้ำชำ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000
วุฒิการศึกษา      ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                         สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
เบอร์โทร            093 - 8752438
อีเมล์                 Jeff_thirut@hotmail.com
 
ลิงค์ Youtube vdo