ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การสร้างและหาประสิทธิภาพควบคุมพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์
2. จัดทำโดย
    1. นายณัฐกร เสนานุรักษ์วรกุล
    2. นายคฑาเดช หงษ์ยศ
    3. นางสาวลลิดา หมูนิล
3. อีเมล์
Katadate5467@gmail.com
4. บทคัดย่อ

              โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการสร้างและหาประสิทธิภาพพัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ

สาหรับการใช้งานที่สหกรณ์แผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา
               การดาเนินการโครงการใช้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย (X̅) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการสอนใช้เครื่องกดน้าในครั้งแรก จากนั้นจึงให้ทดลองใช้เครื่องกดน้าร้อนและเย็นอัตโนมัติ เสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ในการใช้เครื่องกดน้าร้อนและเย็นอัตโนมัติ
              ผลการดาเนินการวิจัย พบว่าเครื่องกดน้าร้อนและเย็นอัตโนมัติ ที่สร้างขึ้น ผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก โดยมีค่าเฉลี่ย 4.32

5. บทนำ
        ปัจจุบันมีการใช้บลูทูธในการส่งสัญญาณอย่างแพร่หลายในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์ไฟฟ้ากับอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆเช่น เครื่องพิมพ์(Printer) คีย์บอร์ด เมาส์ ลำโพง หรือการสื่อสารระหว่างโทรศัพท์เคลื่อนที่กับชุดหูฟัง(Smalltalk) จะเห็นได้ว่ามีการนำบลูทูธมาประยุกต์ใช้งานหลายรูปแบบเนื่องจากบลูทูธมีข้อดีในการใช้งานต่างๆมากมายรวมถึงแอพพลิเคชั่นที่สามารถเชื่อมต่อกับบลูทูธได้ การควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ากับบลูทูธจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ทำให้เกิดความสะดวกในการติดต่อระหว่างโมดูลบลูทูธกับไมโครคอนโทรลเลอร์
        โครงงานนี้ได้นำบลูทูธมาประยุกต์ในการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อแสดงการทำงานของระบบควบคุมที่ออกแบบไว้เป็นการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยผ่านการสื่อสารแบบบลูทูธซึ่งในบางครั้งสวิตซ์หรืออุปกรณ์ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าอาจอยู่ไกลมือของผู้ใช้งานอาจจะทำให้เกิดความไม่สะดวกในการใช้งานการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านบลูทูธจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ทำให้เกิดความสะดวกและประหยัดเวลารวมถึงยังเป็นแนวทางในการพัฒนาประยุกต์ใช้บลูทูธ
        ซึ่งปัจจุบันนี้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายและมีบลูทูธเป็นแอพพลิเคชั่นจึงนำโมดูลบลูทูธต่อเข้ากับระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ให้นำข้อมูลมาประมวลผลและสั่งให้อุปกรณ์ไฟฟ้าทำงานตามที่ต้องการโดยใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณไปควบคุมทำให้ระบบควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านบลูทูธมีประสิทธิภาพมากขึ้น
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
       (1)  เพื่อประยุกต์การใช้เทคโนโลยีบลูทูธและไมโครคอนโทรลเลอร์
       (2)  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
การสร้างและพัฒนาการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ เพื่อใช้งานมีขอบเขตดังนี้
       1.  ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
                 ประชากรที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขา  งานเทคนิคคอมพิวเตอร์ จำนวน20คน โดยใช้วิธีการแบบเฉพาะเจาะจง
       2.  เนื้อหาสาระที่ต้องการพัฒนา
                 (1)  พัดลมตั้งโต๊ะ
                 (2)  Arduino UNO R3
                 (3)  4 Channel 5V relay 4ช่อง แบบ isolation control Relay Module Shield 250V/10A
                 (4)  Bluetooth Serial Module (HC-05 Master/Slave mode)
                 (5)  Switching Buck Converter Module
       3.  ผู้วิจัยใช้เวลาดำเนินการในการวิจัย เริ่มตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ตลอดจนถึงภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2559
 
 
8. สมมุติฐาน
การสร้างและพัฒนาพัดลมควบคุมผ่านบลูทูธผ่านแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. วิธีดำเนินการวิจัย
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
        กลุ่มเป่าหมายที่ 1 เพื่อทดลองควบคุมพัดลมผ่านบลูทูธที่แผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ กำหนดจากผู้ที่มีประสบการณ์/เชี่ยวชาญทางด้านสื่อประเภทอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 5 คน และนักศึกษาสาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ จำนวน 3 คน
       กลุ่มเป่าหมายที่ 2 เพื่อการใช้งานของควบคุมพัดลมผ่านบลูทูธให้มีประสิทธิภาพ คือ ครูผู้สอนภายในสาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ จำนวน 5 คน และนักเรียนนักศึกษาภายในสาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ในวิทยาลัยเทคนิคแพร่ จำนวน 20 คน
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
3.1  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประเมินความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรม  
                  3.1.1  เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงโดยการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโครงการสร้างพัดลมบลูทูธศึกษาสภาพปัญหาพบว่า
                  3.1.2  สำหรับผู้ที่สนใจ การปิด-เปิดพัดลมผ่านบลูทูธที่สามารถทำได้ง่าย ผู้จัดทำโครงการจึงได้ทำพัดลมบลูทูธอย่างง่ายเพื่อที่ให้ผู้ที่สนใจมาศึกษาและทดลองใช้
 
3.2  ศึกษาทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
       ความเป็นมาของการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ
การทำงานของระบบจะเริ่มต้นด้วยการติดตั้งโปรแกรมควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าลงในโทรศัพท์มือถือที่สนับสนุนเทคโนโลยีจาวาและเทคโนโลยีทูธ จากนั้นเรียกใช้งานโปรแกรมโดยการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการจะสั่งงาน จะปรากฏคำสั่งที่สามารถกระทำต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้นๆได้เช่น เปิด ปิด หรี่ ให้เลือกคำสั่งที่ต้องการจากนั้นโทรศัพท์จะส่งคำสั่งไปยังบอร์ดควบคุมให้ทำตามคำสั่งนั้นๆ พัดลม ส่วนประกอบของพัดลม  แบ่งออกเป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ ใบพัดและตะแกรง คลุมใบพัด มอเตอร์ไฟฟ้า   สวิตซ์ควบคุมการทำงาน และกลไกที่ทำให้พัดลมหยุดกับที่หรือ หมุนส่ายไปมา พัดลมจะทำงานได้เมื่อกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ และเมื่อกดปุ่มเลือกให้ลมแรงหรือ เร็วตามที่ผู้ใช้ต้องการ   กระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ตัวมอเตอร์ ทำให้แกนมอเตอร์หมุน ใบพัดที่ติดอยู่กับแกนก็จะหมุนตามไปด้วยจึง เกิดลมพัดออกมา ใบพัด พัดลมแบบแรงเหวี่ยงหรือพัดลมซึ่งมีการไหลของอากาศในแนวรัศมี จะประกอบด้วยใบพัดหมุนอยู่ภายในตัวเรือนของพัดลม (Fan house) ชุดใบพัดจะ ประกอบด้วยแผ่นใบเล็กๆประกอบเข้าด้วยกันเป็นลักษณะกงล้อ ความดันของอากาศจะถูกทำให้มีค่าสูงขึ้นภายในตัวเรือนของพัดลม ซึ่งสามารถเพิ่มค่าให้สูงขึ้นได้ด้วยการเพิ่มขนาดความ ยาวของใบพัด ซึ่งจะทำให้แรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางภายในระบบมีค่ามากขึ้น อากาศจะไหลผ่านเข้าไปในท่อทางเข้าโดยมีทิศทางขนานกับแกนของใบพัด และไหลออกในทิศทางตั้งฉากกับ แกนของเพลาใบพัดในท่อทางออก ตะแกรง ตะแกรงหน้าและหลังช่วยป้องกันอันตรายจากผู้ใช้ มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลการทำงานปกติของมอเตอร์ ไฟฟ้าส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กในตัวมอเตอร์ และสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสในขดลวดทำให้เกิดแรงดูดและแรงผลักของสนามแม่เหล็กทั้งสอง ในการใช้ งานตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมการขนส่งใช้มอเตอร์ฉุดลาก เป็นต้น นอกจากนั้นแล้ว มอเตอร์ไฟฟ้ายัง สามารถทำงานได้ถึงสองแบบ ได้แก่ การสร้างพลังงานกล และ การผลิตพลังงานไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้าถูกนำไปใช้งานที่หลากหลายเช่น พัดลมอุตสาหกรรม เครื่องเป่า ปั๊ม เครื่องมือเครื่องใช้ใน ครัวเรือน และดิสก์ไดรฟ์มอเตอร์ไฟฟ้าสามารถขับเคลื่อนโดยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง (DC) เช่น จาก แบตเตอรี่, ยานยนต์หรือวงจรเรียงกระแส หรือจากแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับ (AC) เช่น จากไฟ บ้าน อินเวอร์เตอร์ หรือ เครื่องปั่นไฟ มอเตอร์ขนาดเล็กอาจจะพบในนาฬิกาไฟฟ้า มอเตอร์ทั่วไปที่มีขนาด และคุณลักษณะมาตรฐานสูงจะให้พลังงานกลที่สะดวกสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม มอเตอร์ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดใช้สำหรับการใช้งานลากจูงเรือ และ การบีบอัดท่อส่งน้ำมันและปั๊มสูบจัดเก็บน้ำมันซึ่งมีกำลังถึง 100  เมกะวัตต์ มอเตอร์ไฟฟ้าอาจจำแนกตามประเภทของแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้าหรือตามโครงสร้างภายใน หรือตามการใช้งานหรือตามการเคลื่อนไหวของเอาต์พุต และอื่นๆ
                3.2.1  สวิตซ์ควบคุมการทำงาน อุปกรณ์ที่มีหน้าสัมผัสอยู่ภายในการเปิดปิดหน้าสัมผัส ได้โดยใช้มือกดใช้ควบคุมการทำงานของมอเตอร์
                3.2.2 Arduino UNO R3 เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Sourceคือมีการเปิดเผยข้อมูลทั้งด้าน Hardware และ Software ตัว บอร์ด Arduino ถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ง่าย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นศึกษา ทั้งนี้ผู้ใช้งานยังสามารถดัดแปลง เพิ่มเติม พัฒนาต่อยอดทั้งตัวบอร์ด หรือโปรแกรมต่อได้อีกด้วย บอร์ด Arduino ถือว่าเป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ยอดนิยม และใช้กันอย่างแพร่หลาย ที่สามารถนำไปพัฒนาโปรเจ็คได้หลากหลาย เรียนรู้ได้ง่ายและเหมาะสำหรับผู้เริ่มต้น อีกทั้งยังมีราคาที่ถูกจนใครๆก็สามารถเป็นเจ้าของได้ไม่ยาก
                3.2.3  Channel 5V relay 4 ช่อง แบบ isolation control Relay Module Shield 250V/10A
ไฟเลี้ยงโมดูลรีเลย์ VCC = 5VDC ควบคุมโหลดได้ทั้งแรงดันไฟฟ้า AC ได้สูงสุด 250VAC 10A หรือ แรงดันไฟฟ้า DC ได้สูงสุด 30VDC 10A (Maximum Load) ระดับสัญญาณอินพุทควบคุมแบบ TTL ทำงานด้วยสัญญาณแบบ Active Low กระแสขับรีเลย์ (Drive Current) 15-20mA. มีการออกแบบให้เป็น Isolate ด้วย Optocoupler มี LED แสดงสถานะ Relay โมดูลขนาด 5.3cm.(กว้าง) x 7.0cm.(ยาว) x 1.7cm.(สูง(
              3.2.4  Bluetooth Serial Module (HC-05 Master/Slave mode)HC05 เป็นโมดูล Bluetooth ที่ใช้งานในการเชื่อมต่อกับสมาร์ทดีไวซ์ต่างๆ ให้สมาร์ทดีไวซ์สามารถสื่อสารกับไมโครคอนโทรเลอร์ (Arduino AVR PIC etc.) ได้ ผ่าน Serial port โมดูลรุ่น HC05 สามารถตั้งให้ใช้งานเป็นได้ทั้งโหมด Master (ให้อุปกรณ์อื่นมาเชื่อมต่อ) และโหมด Slave (เชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น) การตั้งค่าต่างๆ เช่น ชื่ออุปกรณ์ รหัสผ่าน ทำได้ผ่าน AT Command ซึ่งจะต้องมีการต่อขาพิเศษเพื่อให้โมดูลเข้าโหมดการตั้งค่า หรือกดปุ่มบนโมดูลค้างไว้
               3.2.5  Switching Buck Converter Module 03 โมดูล LM2596 ออกแบบมาให้ปรับค่าโวลต์ได้แบบละเอียด ดังนั้นหมุนที่ตัวต้านทานปรับค่าได้บนบอร์ด หลาย ๆ รอบ
 

3.3 กำหนดวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
       การสร้างและพัฒนาพัดลมบลูทูธสำหรับผู้ที่สนใจความสะดวกสบาย ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ตาราง 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง
อุปกรณ์ จำนวน
 พัดลมตั้งโต๊ะ 1 ตัว
Arduino UNO R3 1 ตัว
4 Channel 5V relay 4ช่อง 1 ตัว
Bluetooth Serial Module 1 ตัว
Switching Buck Converter Module 1 ตัว
 สายจั๊ม 2 ชุด
 
3.4  หาข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนาวัตกรรม
       โครงสร้างมีความกว้างโดยประมาณ 30 เซนติเมตร และความสูงโดยประมาณ 50 เซนติเมตร
3.5  สร้างนวัตกรรมตามที่ออกแบบ ตามลำดับดังนี้
       การออกแบบโครงสร้างมีความกว้างโดยประมาณ 30 เซนติเมตร และความสูงโดยประมาณ 50 เซนติเมตร แสดงดังในภาพที่ 3-2 และ 3-3
 
ภาพที่ 3-2โครงสร้างพัดลม
 
ภาพที่ 3-3โครงสร้างพัดลม
 
3.6  การวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสาหรับการประเมินความพึงพอใจ
      ดังมีขั้นตอนแสดงในภาพที่ 3-4

            ภาพที่  3-4 ผังแสดงกระบวนการวิเคราะห์ออกแบบเครื่องมือสาหรับการประเมิน
3.7 การใช้นวัตกรรม
       3.7.1 การใช้งานพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่น ทดลองใช้เครื่องกดน้ำร้อนเย็นของนักเรียน ดังแสดงในภาพที่ 3-5 ถึงภาพที่ 3-8
 
ภาพที่ 3-5 การทดลองพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่น
 
ภาพที่ 3-6 การทดลองพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่น

ภาพที่ 3-7 การทดลองพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่น
 
ภาพที่ 3-8 การทดลองพัดลมผ่านบลูทูธบนแอพพลิเคชั่น

 
ตารางที่ ก-1
  แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้พัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ
รายการประเมิน  ผลการประเมิน
5 4 3 2 1
  ด้านโครงสร้าง
    1.วัสดุที่ใช้มีความเหมาะสม
         
     2.ขนาดของพัดลมบลูทูธมีความเหมาะสม          
     3.ความสวยงามของพัดลมบลูทูธ          
     4.ความประณีตของพัดลมบลูทูธ          
     5.พัดลมบลูทูธ ที่จัดทำมีโครงสร้างที่แข็งแรง          
     6.ความน่าสนใจในชุดทดลอง          
  ด้านการใช้งาน
     7.ง่ายต่อการใช้งาน
         
     8.มีความปลอดภัยในการใช้พัดลมบลูทูธ          
     9.การเคลื่อนย้ายของพัดลมบลูทูธ          
  ด้านคุณค่า
     10.ความเหมาะสมของต้นทุน
         
  ด้านคุณค่าโดยสรุป
     11.ช่วยเสริมการเรียนรู้เรื่องไมโครคอนโทรเลอร์
         
 
ข้อเสนอแนะ
......................................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................................................................................................................


                       แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
ตารางที่ ข-1  แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ
รายการประเมิน  ระดับความคิดเห็น
  +1    0   -1
  ด้านโครงสร้าง                  
  1.  วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างพัดลมบลูทูธ มีความเหมาะสม      
  2.  ความแข็งแรงคงทนของพัดลม      
  3.  ขนาดพัดลมมีความเหมาะสม      
  4.  การออกแบบพัดลม มีรูปแบบเหมาะสม      
  ด้านการใช้งาน      
  5.  ความสะดวกในการใช้งานของพัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ      
  6.  พัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ มีความเข้าใจง่ายต่อการใช้งาน      
  7.  ชุดทดลองสามารถเสริมสร้างทักษะความเข้าใจในการเรียนวิชาวงจรพัลส์และไมโครคอนโทรเลอร์      
  8. พัดลม มีความปลอดภัยในการใช้งาน      
  9.  ง่ายต่อการซ่อมแซมบำรุงรักษาพัดลม      
  ด้านคุณค่าโดยสรุป      
  10. ความเหมาะสมของต้นทุน      
  11. พัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ มีคุณค่าต่อการนำไปใช้งาน      

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                  ลงชื่อ........................................
                                                                                                  (...................................................)
                                                                                                         ผู้ประเมิน



                                       แบบประเมินประสิทธิภาพของพัดลมควบคุมผ่านบลูทูธ
                วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพพัดลมทูธ ระหว่างความสมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเนกับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค ดังนี้
ตารางที่ ข-2  วิเคราะห์หาค่าความสอดคล้องของข้อคาถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
 
 
 
    ข้อดีที่
            ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ  
 
       IOC
 
 
    แปลผล
 
ผู้ทรงคุณวุฒิ  1
 
ผู้ทรงคุณวุฒิ  2
 
ผู้ทรงคุณวุฒิ  3
ข้อ 1 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
ข้อ 2 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
ข้อ 3 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
ข้อ 4 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
ข้อ 5 +1 +1 0 0.66 ใช้งานได้
ข้อ 6 +1 +1 0 0.66 ใช้งานได้
ข้อ 7 0 +1 +1 0.66 ใช้งานได้
ข้อ 8 +1 +1 0 0.66 ใช้งานได้
ข้อ 9 +1 0 0 0.33 ปรับปรุง
ข้อ10 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
ข้อ 11 +1 +1 +1 1 ใช้งานได้
 
 แสดงการคิดคำนวณค่า IOC
                                ข้อ  1  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                               ข้อ  2  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  3  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  4  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  5  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  6  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 1
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  7  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 2
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                              ข้อ  8  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.66
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                             ข้อ  9  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.33
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                             ข้อ  10  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                           มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง
                             ข้อ  11  ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                                           จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                                           ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                                        มีค่าต่ำกว่า 0.5 ถือว่าคำถามข้อนี้ใช้ไม่ได้หรือควรปรับปรุง

 
 
 
 
 
 
 
 

 
 
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
 ความแข็งแรงของพัดลมมีความแข็งแรงและมีความคงทนสามารถใช้งานได้ ดังแสดงในรูปที่ 4-1

ภาพที่ 4-1 แสดงภาพเครื่องที่มีความแข็งแรง
 
น้ำหนักของพัดลมมีน้ำหนักอยู่ที่ 2 กิโลกรัม สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ดังแสดงในรูปที่ 4-2
 
ภาพที่ 4-2 แสดงภาพน้ำหนักของพัดลม
 
ขนาดของพัดลมมีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร ดังแสดงในรูปที่ 4-3

รูปที่4-3 แสดงภาพขนาดของพัดลม

ความสะดวกในการใช้งานของพัดลมดังแสดงในรูปที่ 4-4
 
รูปที่4-4 แสดงภาพความสะดวกสบายของพัดลม
 
 
 
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
        
10. ผลของการวิจัย
            การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ มีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังนี้
  การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 7 ตอนดังนี้
          ตารางที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
          ตารางที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
          ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในการใช้งาน
          ตารางที่5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความคุ้มค่า
          ตารางที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
          ตารางที่7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                      แทนค่าเฉลี่ย
                 S.D.  แทนค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                 P      แทนค่าร้อยละ

4.1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
       ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
                      ตารางแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของพัดลม
    ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
ด้านสมบัติด้านเทคนิค คุณสมบัติที่ตั้งไว้ คุณสมบัติที่ทำได้จริง ผลการเปรียบเทียบ
1  ความแข็งแรงของเครื่อง เครื่องมีความแข็งแรงคงทนใช้งานได้ยาวนาน เครื่องมีความแข็งแรงใช้งานได้ ความแข็งแรงของเครื่องได้มาตรฐานตามที่ตั้งไว้
2.  น้ำหนักของเครื่อง น้ำหนัก1-2 กิโลกรัม น้ำหนัก1-2 กิโลกรัม น้ำหนักเบาได้ตามที่ตั้งไว้
3.  ขนาดของเครื่อง กว้าง 30 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร กว้าง 30 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร ขนาดของเครื่องได้ตามมาตรที่ตั้งไว้
4.  ความสะดวกในการใช้งานของเครื่อง บลูทูธเชื่อมต่อกับอุปกรณ์พกพาได้ บลูทูธเชื่อมต่อกับอุปกรณ์พกพาได้ เชื่อมต่อแล้วสามารถใช้งานได้
5.  วัสดุที่นำมาใช้ มีความแข็งแรงคงทน มีความแข็งแรงคงทน วัสดุเป็นที่ยอมรับที่ตั้งไว้
6.  การใช้งาน ใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ ใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ วัสดุเป็นที่ยอมรับที่ตั้งไว้
7.  ราคา 2,000บ. 1,500บ. ราคาไม่แพงมากนัก
       จากตารางที่ 4.1 สามารถอธิบายผลการเปรียบเทียบ ได้ดังนี้

ตอนที่ 2  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
             ตารางที่4.2 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
คุณลักษณะ จำนวน เปอร์เซ็นต์ รวม(คน)
เพศชาย 8 40  
20
เพศหญิง 12 60
อายุต่ำกว่า 15 ปี - -  
 
 20
16-17ปี 5 50
17-18ปี 10 100
19-20ปี 5 50
สูงกว่า20ปี          -          -
            จากตารางที่4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด10คนเป็นเพศชาย 5 คน เพศหญิง5คน คิดเป็น50% และมีอายุส่วนใหญ่ ที่ระหว่าง 19-20 ปี คิดเป็น 40% รองลงมามีอายุระหว่าง 17-18 ปี คิดเป็น 30%
ตอนที่3  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
    ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้งานการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสร้างขึ้นเพื่อใช้งาน ด้านความแข็งแรงของเครื่อง มีดังนี้
    ตารางที่ 4.3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
ที่ รายการประเมิน S.D. ระดับความคิดเห็น
1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างเครื่องพัดลมเปิด-ปิดผ่านบลูทูธ 1.00 0.48 น้อยที่สุด
2 ความแข็งแรงของพัดลมเปิด-ปิดอัตโนมัติ 1.00 0.74 น้อยที่สุด
3 ขนาดของพัดลมเปิด-ปิดผ่านอัตโนมัติ 1.00 0.52 น้อยที่สุด
4 รูปร่างของเครื่องมีความเหมาะสม 1.00 0.53 น้อยที่สุด
เฉลี่ย 1.00 0.48 น้อยที่สุด
             จากตารางที่ 4.3 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ
สำหรับผู้ที่ใช้งานเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธที่สร้างขึ้น ด้านโครงสร้าง โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพอใจ (=1.00) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า โดยความพึงพอใจในการใช้เครื่องขายบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ด้านโครงสร้าง สำหรับผู้ใช้พัดลมที่สร้างขึ้น มีความพึงพอใจเรื่องวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างการเปิด-ปิดพัดลมมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (=1.00) และ ค่าเฉลี่ยน้อยสุด (=1.00)

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการด้านใช้งาน
    ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งานที่ผ่าน
    การใช้พัดลม ด้านการใช้งาน
  ตารางที่  4.4  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้งานนวัตกรรมด้านการใช้งาน
ที่ รายการประเมิน S.D. ระดับความคิดเห็น
5. ความสะดวกในการใช้งานพัดลมเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ 1.00 0.48 น้อยที่สุด
6. ง่ายต่อการปรับระดับความเย็นพัดลม 1.00 0.50 น้อยที่สุด
7. ความปลอดภัยในการใช้เครื่อง 1.00 0.52 น้อยที่สุด
เฉลี่ย 1.00 0.45 น้อยที่สุด
               จากตารางที่  4.4  พบว่า ความพึงพอใจในการใช้งานการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธที่สร้างขึ้น
ผู้ผ่านการใช้เครื่องพัดลมเปิด-ปิดผ่านบลูทูธที่สร้างขึ้นด้านการใช้งาน  โดยภาพรวมอยู่ในระดับที่พึงพอใจ(=1.00) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ทุกรายการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด  โดยความพึงพอใจในการใช้งานพัดลมเปิด-ปิดผ่านบลูทูธ ด้านการใช้งาน ที่สร้างขึ้นนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่มีความพึงพอใจความปลอดภัยในการใช้เครื่องมากสุด (=1.00) และค่าเฉลี่ยน้อยสุด (=1.00)

ตอนที่5  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
    ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้เครื่องพัดลมเปิด-ปิดผ่านบลูทูธสร้างขึ้นสำหรับ
    ผู้ใช้งานที่ผ่านการใช้เครื่องพัดลมเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ ด้านความคุ้มค่า
   ตารางที่4.5  แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
ที่ รายการประเมิน S.D. ระดับความคิดเห็น
8. ระยะเวลาในการทำเครื่อง 1.00 0.32 น้อยที่สุด
9. ความเหมาะสมของต้นทุน 2,000 1.00 0.48 น้อยที่สุด
เฉลี่ย 1.00 0.32 น้อยที่สุด
                จากตารางที่4.5  พบว่า ความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งานผู้ผ่านการใช้พัดลมด้านความคุ้มค่า  โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจ (=1.00) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการประเมิน พบว่า ในการใช้พัดลม ด้านความคุ้มค่า สำหรับผู้ใช้งานผู้ใช้พัดลมที่สร้างขึ้นมีความพึงพอใจระยะเวลาในการทำเครื่อง มีค่าเฉลี่ยมากสุด  (=1.00) และค่าเฉลี่ยที่น้อยสุด (=1.00)

ตอนที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
   ตารางแสดงระดับความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดสำหรับผู้ใช้งานที่ผ่านการใช้การเปิด-ปิด
   พัดลมผ่านบลูทูธ ด้านคุณค่าโดยสรุป
     ตารางที่  4.6  แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
ที่ รายการประเมิน S.D. ระดับความคิดเห็น
10 การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน ได้จริง 1.00 0.48 น้อยที่สุด
เฉลี่ย 1.00 0.48 น้อยที่สุด
              จากตารางที่ 4.6 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งาน ผู้ผ่านการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธที่สร้างคุณค่าโดยสรุป โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจ (=1.00)

ตอนที่7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน สรุปภาพรวมผลการ
              วิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งาน ที่ ผ่าน
              การใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ ที่สร้างขึ้น ดังนี้
   ตารางที่4.7  แสดงผลกรวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
ที่ รายการประเมิน S.D. ระดับความคิดเห็น
1 ด้านโครงสร้าง 1.00 0.48 น้อยที่สุด
2 ด้านการใช้งาน 1.00 0.45 น้อยที่สุด
3 ด้านความคุ้มค่า 1.00 0.32 น้อยที่สุด
4 ด้านคุณโดยสรุป 1.00 0.48 น้อยที่สุด
เฉลี่ย 1.00 0.44 น้อยที่สุด
             จากตารางที่ 4.7 พบว่า ความพึงพอใจในการใช้การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งานผู้ผ่านการใช้พัดลมเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธทุกด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจ  (=1.00) และเมื่อพิจารณาหลายด้าน ด้านคุณค่ามีความพึงพอใจมากที่สุด มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด (=1.00) และด้านโครงสร้างมีความพึงพอใจน้อยที่สุด (=1.00)
 
11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
การสร้างและพัฒนาการเปิด-ปิดผ่านบลูทูธสำหรับผู้ใช้งานเพื่อความสะดวกสบาย เป็นงานวิจัยประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่คณะผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นในการศึกษาวิชาโครงการ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ปีพุทธศักราช 2560 สาชางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธ ทำการทดลองจากนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ สรุปผลการดำเนินงานวิจัย ปัญหาและข้อเสนอแนะและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้
  
5.1  สรุปผลการวิจัย
        5.1.1  การพัฒนาการเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธพบว่า เครื่องที่พัฒนาขึ้นมามีคุณสมบัติ ดังนี้มีความแข็งแรง น้ำหนักเบา ขนาดของเครื่องเหมาะสมตามที่ออกแบบ เมื่อบลูทูธเชื่อมต่อกับอุปกรณ์พกพาจะสามารถสั่งงานพัดลมได้ วัสดุที่ใช้สร้างมีความเหมาะสม สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และมีประสิทธิภาพ
        5.1.2 เพื่อทดลองใช้เครื่องพัดลมบลูทูธในการทดลองใช้เครื่องพัดลมที่สร้างขึ้นพบว่า ตัวเครื่องนั้นมีประสิทธิภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณารายละเอียดด้านเทคนิค พบว่าประสิทธิภาพของเครื่องอยู่ในระดับใกล้เคียงกับที่คาดคะเนไว้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้าง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ น้ำหนัก และขนาด ก็อยู่ในระดับ ใกล้เคียงผลที่คาดไว้ คือ มีขนาดที่พอเหมาะ
        5.1.3 ความพึงพอใจในการใช้เครื่องพัดลมบลูทูธเพื่ออานวยความสะดวกด้านการใช้งาน พบว่า มีความพึงพอใจในความสะดวกในการใช้งานพัดลมอยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมามีความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องพัดลมเพื่อการอำนวยความสะดวกอยู่ในระดับน้อย
        5.1.4 ความพึงพอใจในการใช้พัดลมบลูทูธ ที่สร้างขึ้นสาหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้พัดลมบลูทูธ ด้านความคุ้มค่า
พบว่า มีความพึงพอใจในด้านความคุ้มค่าพัดลมบลูทูธ อยู่ในระดับน้อย
         5.1.5 ความพึงพอใจในการใช้พัดลมสาหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้พัดลมบลูทูธ ด้านคุณค่าโดยสรุป
พบว่า มีความพึงพอใจในด้านคุณค่าอยู่ในระดับน้อย
         5.1.6 ความพึงพอใจในการใช้พัดลมในด้านสรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีความพึงพอใจในการใช้พัดลมบลูทูธ ทุกด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อย
 
5.2  การอภิปรายผล
       การเปิด-ปิดพัดลมผ่านบลูทูธที่พัฒนาขึ้นมานั้น มีความเหมาะสมกับการใช้งาน ความสะดวกในการใช้งาน ซึ่งการพัฒนาพัดลมเปิด-ปิดอัตโนมัติสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาหลักการทำงานของ มอเตอร์พัดลม 220 V หลังจากการพัฒนาชิ้นงาน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้มีความแข็งแรง ขนาดของพัดลมกว้าง 30 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร มีความเหมาะสมและความสะดวกในการใช้งานโดยมีความปลอดภัยในการใช้เครื่อง และสั่งงานสามารถใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ
        นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นในเรื่องโปรแกรมที่มีทั้งในด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงานด้านรูปลักษณ์และความง่ายต่อการใช้งาน โปรแกรมสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานทุกอย่างตามที่ผู้จัดทำได้วิเคราะห์และออกแบบการทำงานแอพพลิเคชั่น ทำให้ผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมและระบบควบคุมการทำงานเป็นอย่างมากเพราะในการออกแบบโปรแกรมและระบบควบคุมทุกครั้งจะต้องคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก

      
 
12. ข้อเสนอแนะ
5.3.1  ขอเสนอแนะในการนำไปใช้
                           (1)  ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านบลูทูธสามารถควบคุมผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่
                           (2)  สามารถทราบสถานการณ์ทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ควบคุมทั้งหมด
      5.3.2  ข้อเสนอแนะเพื่องานวิจัยครั้งต่อไป
                           (1)  ควรเพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้น
                           (2)  ควรเพิ่มฟังค์ชั่นในการใช้งานให้ง่ายขึ้น
13. บรรณานุกรม
การทำงานของเครื่องพัดลม[ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 25 มกราคม 2560.
               จาก : http://ienergyguru.com/2015/09/fan/
ทฤษฎีของบลูทูธ.[ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 26 มกราคม 2560
               จาก : http://www.siamphone.com/news/bluetooth/page.htm
ทฤษฎีของบอร์ดอดูโน่. [ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 26 มกราคม 2560
               จาก : https://www.arduitronics.com/article/1/เริ่มต้นใช้งาน-arduino-uno -
ทฤษฎีของรีเลย์ [ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2560
               จาก : http://www. http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-09.com
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ

ชื่อ-สกุล                 นายณัฐกร  เสนานุรักษ์วรกุล
เกิดเมื่อวันที่           2 มีนาคม 2541
ที่อยู่ปัจจุบัน           31/1 ตำบล เหมืองหม้อ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000
วุฒิการศึกษา          ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                                สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
รหัสนักศึกษา           5721280011
เบอร์โทร                   096-2286287
อีเมล์                         gameindy06@gmail.com
 
ชื่อ-สกุล                 นางสาวลลิดา หมูนิล
เกิดเมื่อวันที่           23 กันยายน  2541
ที่อยู่ปัจจุบัน           202/3 หมู่ 6 ต.หัวฝาย อ.สูงเม่น จ.แพร่ 54130
วุฒิการศึกษา          ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                                สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
รหัสนักศึกษา           5721280014
เบอร์โทร                   061-321-8462
อีเมล์                         lalidamuay23@gmail.com
 
ชื่อ-สกุล                 นายคฑาเดช  หงษ์ยศ
เกิดเมื่อวันที่           24 กรกฎาคม 2541
ที่อยู่ปัจจุบัน           92/5 ตำบลวังหงส์ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000
วุฒิการศึกษา          ปัจจุบันกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
                                สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
รหัสนักศึกษา           5721280016
เบอร์โทร                   064-098-5467
อีเมล์                         katadate5467@gmail.com
 
 
ลิงค์ Youtube vdo