ชื่อผู้ใช้  
จำรหัสผ่าน
 
 
บทความโครงการ นักศึกษา
1. ชื่อโครงการ การสร้างจักรยานLopifit
2. จัดทำโดย
    1. นายจิราพัชร สบายวงค์
    2. นายณัฐพงษ์ ดวงเทียน
    3. นายพุฒิพงษ์ ด้วงเจริญสุข
3. อีเมล์
Tomatox_suckseed@hotmail.com , puttipong6995@gmail.com , mr.nattapong25411@gmailmail.com
4. บทคัดย่อ
              โครงการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพการสร้างจักรยาน Lopifitสำหรับขับขี่ตามที่ต่างๆสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพปวช.สาขาวิชาเทคนิคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคแพร่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

             การดำเนินการโครงการใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 20 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยมีการขับขี่จักรยาน Lopifit จากนั้นจึงให้ทดลองใช้จักรยาน Lopifitสำหรับการขับขี่ในที่ต่างๆ ตนเองเสร็จแล้วให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้พัฒนาจักรยาน Lopifit

            ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า การสร้างจักรยานLopifit ขับขี่ในที่ต่างๆ ที่สร้างขึ้นผู้ใช้มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อยโดยมีค่าเฉลี่ย 1.81
 
5. บทนำ
                ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีหนึ่งในทางเลือกของการเดินทางที่มีมานานแล้วอย่างจักรยานนั้น ก็ไม่ได้มีวิวัฒนาการที่แตกต่างไปจากเดิมซักเท่าไหร่ อย่างมากก็เพิ่มระบบไฟฟ้าเข้ามาเพิ่มเติม แต่วิธีการเคลื่อนที่ก็ยังคงเป็นการปั่นอยู่ถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ลองเปลี่ยนจากการปั่นมาเป็นการเดินหรือวิ่งบนลู่แทนล่ะ  เปลี่ยนรูปแบบและยกระดับจักรยานให้ผู้คนหันมาสนใจมากขึ้น
                จากการศึกษา  Lopifit  ตัวนี้คือนวัตกรรมจักรยานที่เปลี่ยนจากวิธีการปั่นมาเป็นการเดินบนลู่วิ่งไฟฟ้าแทนก็เลยกลายมาเป็นผลงานประดิษฐ์อย่างที่เห็นกันนั่นเองนอกจากนี้ระบบไฟฟ้าที่ติดตั้งมาด้วยนั้น จะช่วยทำให้  Lopifit  สามารถเคลื่อนที่ไปได้เรื่อยๆ  เเละราคาถูกกว่าท้องตลาดอีกทั้งยังมีความน่าใช้น่าสนใจในการออกกำลังกายอีกแบบหนึ่ง
                                                                                                                                                             
               ดังนั้น ผู้จัดทาจึงได้นาเอาหลักการต่างๆ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเหล่านี้มาเป็นแนวทางในการสร้างและหาประสิทธิภาพจักรยานLobifit
 
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
6.1 เพื่อพัฒนาจักรยานLopifit
6.2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการทำงานของจักรยานLopifit
 
7. ขอบเขตของการวิจัย
7.1  ท่อเหล็ก
7.2   มอเตอร์ไฟฟ้า
7.3  dcแบตเตอร์รี่
7.4  สายพานลำเลียง
7.2 ด้านระยะเวลาในการดำเนินงานโครงการ
          ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย เริ่มตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ใช้เวลา ตลอดจนถึงภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
 
8. สมมุติฐาน
        สร้างและหาประสิทธิภาพการสร้างรถจักรยาน Lopifit เพื่อตอบสนองความต้องการและความสะดวกสบายของมนุษย์
 
9. วิธีดำเนินการวิจัย
9.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          ประชากรที่ใช้ในการดำเนินโครงการ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานเทคนิค คอมพิวเตอร์ จำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
 
9.2 สร้างเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
3.1  วิเคราะห์สภาพปัญหาหรือประมาณความต้องการของผู้ใช้นวัตกรรม
       เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงการสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมให้สอดคล้องและสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โครงการจักรยานลู่วิ่ง ศึกษาสภาพปัญหา พบว่า
       3.1.1  การออกกำลังกายอยู่กับที่ทุกครั้งอาจจะทำให้เบื่อ
 
3.2  ศึกษาทฤษฏีและหลักการที่เกี่ยวข้อง
       ความเป็นมาของจักรยาน Lopifit
       Lopifit เกิดจากไอเดียของผู้ออกแบบ ที่ผุดขึ้นมาขณะออกกำลังกายในยีม มันเกิดคำถามขึ้นมามากมาย อาทิเช่น ทำไมเราไม่เอาลู่วิ่งอกไปใช้งานข้างนอก? ถ้าเอาลู่วิ่งมาติดล้อจะเป็นยังไง? หลังจากนั้นจึงเริ่มออกแบบ Lopifit ในห้องนั่งเล่น และเริ่มลองนำออกไปใช้ข้างนอก และเมื่อได้ลอง ก็ชื่นชอบมากๆ Lopifit เป็นวิธีการเคลื่อนที่แบบใหม่ โดยทำงานร่วมกับพลังงานไฟฟ้า มันให้ประโยชน์มากกว่าการเดินเล่นในสวน ระบบพลังงานไฟฟ้าที่นำมาใช้กับ Lopifit นี้ยังสามารถทำงานร่วมกับเกียร์ ที่ติดตั้งไว้ได้ด้วย ซึ่งจะช่วยให้คุณเคลื่อนที่ได้เร็วมากขึ้นพอๆ กับจักรยานทั่วไป ถ้าคุณรู้สึกเหนื่อยจากการปั่น และหมดแรงกับการเดิน ลองเลือกการเคลื่อนที่ ที่แตกต่างออกไปด้วย Lopifit
3.3  กำหนดวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
 การสร้างและพัฒนาจักรยานลู่วิ่ง ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ตาราง3.1  อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง       
          
3.4  หาข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
      แบตเตอรี่
       แบตเตอรี่ เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าเคมี หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ที่มีการเชื่อมต่อภายนอกเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า แบตเตอรี่มี ขั้วบวก  และ ขั้วลบ  ขั้วที่มีเครื่องหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าขั้วที่มีเครื่องหมายลบ ขั้วที่มีเครื่องหมายลบคือแหล่งที่มาของอิเล็กตรอนที่เมื่อเชื่อมต่อกับวงจรภายนอกแล้วอิเล็กตรอนเหล่านี้จะไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณ์ภายนอก เมื่อแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับวงจรภายนอก สาร อิเล็กโทรไลต์ มีความสามารถที่จะเคลื่อนที่โดยทำตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏิกิริยาทางเคมีทำงานแล้วเสร็จในขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เป็นการส่งมอบพลังงานให้กับวงจรภายนอก การเคลื่อนไหวของไอออนเหล่านั้นที่อยู่ในแบตเตอรี่ที่ทำให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏิบัติงาน[2] ในอดีตคำว่า "แบตเตอรี่"
 
3.5  ออกแบบสร้างและพัฒนานวัตกรรม
       3.5.1 ได้ออกแบบโครงสร้าง ดังแสดงในภาพที่ 3-1

ภาพที่  3-1 โครงสร้างรถจักรยานLopifit
          3.5.2  ใส่แบตเตอรี่ ดังแสดงในภาพ 3-2



แบบประเมินประสิทธิภาพของจักรยานลู่วิ่ง
         วิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพรถจักรยานLopifitระหว่างความสามมารถทางด้านการทำงานที่คาดคะเเนน กับคุณสมบัติของเครื่องที่ทำได้จริง ตามคุณสมบัติด้านเทคนิค ดังนี้
ตารางที่ แบบประเมินประสิทธิภาพของรถจักรยานLopifit

 

แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
ตารางที่ ข-1 แบบฟอร์มการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถามของผู้ทรงคุณวุฒิ    
                                                                                                                               

การวิเคราะห์เลือกคาถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ตารางที่ ข-2การวิเคราะห์เลือกคาถามจากผู้ทรงคุณวุฒิ

 
 
การคิดคำนวณค่า IOC
                      ข้อ 1 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 2 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 3 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 4 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 5 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 6 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 7 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้ 46
                      ข้อ 8 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 2/3 = 0.667
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 9 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 3/3 = 1
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
                      ข้อ 10 ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญ เท่ากับ 3
                              จำนวนผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
                              ค่า IOC เท่ากับ 1/3 = 0.333
                              มีค่ามากกว่า 0.5 ถือว่าคาถามข้อนี้ใช้ได้
 
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานลู่วิ่ง
 

     แบบประเมินการใช้จักรยานลู่วิ่งนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประเมินผลการทำงานของจักรยานลู่วิ่ง ในแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ ในวิทยาลัยเทคนิคแพร่ ผลการประเมินของทานจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับปรุงการทำงานของรถจักรยานลู่วิ่งให้สมบูรณ์และดียิ่งขึ้นไป
 
คำชี้แจง                 แบบประเมินแบ่งออกเป็น 3 ตอน
                ตอนที่ 1  เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
                ตอนที่ 2  ความสะดวกในการใช้งานจักรยานลู่วิ่งสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์มีทั้งหมด 4 ด้าน ดังนี้
                                 ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างของรถจักรยานลู่วิ่ง ความแข็งแรงทนทาน
                                ด้านที่  2  ด้านการใช้งานจักรยานลูวิ่งที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
                                ด้านที่  3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
                                ด้านที่ 4  คุณค่าโดยสรุป
                ตอนที่ 3  เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ

         ด้านที่ 1  ด้านโครงสร้างของจักรยานลู่วิ่ง ความแข็งแรงและทนทาน
                  ด้านที่ 2  ด้านการใช้งานจักรยานลู่วิ่งที่สร้างเสร็จแล้วไปใช้งาน
                  ด้านที่ 3  ด้านความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในการใช้งาน
                  ด้านที่ 4  คุณค่าโดยสรุป
         คำชี้แจง  โปรดทำเครื่องหมาย/ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด


 
9.3 ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
10. ผลของการวิจัย
10. ผลของการวิจัย
       การวิเคราะห์ข้อมูลการสร้างจักรยาน Lopifitมีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังต่อไปนี้
      การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการใช้จักรยานlopifitวิ่งมีการวิเคราะห์โดยแยกเป็นตอนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำเสนอตามลำดับ ดังนี้
      การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอรวม 7 ตอนดังนี้
          ตารางที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
          ตารางที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตารางที่3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านโครงสร้าง
          ตารางที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในการใช้งาน
          ตารางที่5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านความคุ้มค่า
          ตารางที่6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมด้านคุณค่า
          ตารางที่7 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประเมินผลการใช้นวัตกรรมในภาพรวมทุกด้าน
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปรผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                              x̅  แทนค่าเฉลี่ย
                 S.D.  แทนค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                 P     แทนค่าร้อยละ
 
 4.1  ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
         ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม
         ตารางแสดงการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของจักรยาน
  ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของนวัตกรรม





11. การอภิปรายผล หรือการวิจารณ์และสรุป
            การสร้างและพัฒนาจักรยานลู่วิ่งสำหรับนักเรียนนักศึกษาเพื่อความสะดวกสะดวกเป็นงานวิจัยประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่คณะผู้จัดทำได้จัดทำขึ้นในการศึกษาวิชาโครงการตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงปีพุทธศักราช 2560 สาชางานเทคนิคคอมพิวเตอร์โดยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างจักรยานลู่วิ่ง ทำการทดลองจากนักเรียนนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์ สรุปผลการดำเนินงานวิจัย ปัญหาและข้อเสนอแนะและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้
  
   5.1  สรุปผลการวิจัย
          5.1.1  การประสิทธิภาพของจักรยานlopifitพบว่า เครื่องที่พัฒนาขึ้นมามีคุณสมบัติ ดังนี้มีความแข็งแรง น้ำหนักเบา ขนาดของเครื่องเหมาะสมตามที่ออกแบบเดินบนลู่วิ่งแล้วจักรยานสามารถเคลื่อนที่ได้จริง วัสดุที่ใช้สร้างมีความเหมาะสมสอดคล้องกับเกณฑ์ที่ตั้งไวและมีประสิทธิภาพใกล้เคียงจักรยานตามท้องตลาด อีกทั้งราคาถูกว่าท้องตลาด
          5.1.2  ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคในการใช้จักรยานlopifit ด้านโครงสร้าง พบว่า มีความพึงพอใจในวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างจักรยานlopifitอยูในระดับน้อย                  
        5.1.3 ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานLopifit สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคอมพิวเตอร์วิทยาลยัเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานLopifit ด้านการใช้งานพบว่า มีความพึงพอใจในด้านการใช้งานรถจักรยานLopifit อยู่ในระดับน้อย
            5.1.4 ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานLopifit ที่สร้างขึ้นสำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์วทิยาลยัเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานLopifit ด้านความคุ้มค่าพบว่ามีความพึงพอใจในด้านความคุ้มค่ารถจักรยานLopifit อยู่ในระดับน้อยมาก
             5.1.5 ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานLopifit สำหรับนักศึกษาแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์วิทยาลยัเทคนิคแพร่ที่ผ่านการใช้รถจักรยานLopifit ด้านคุณค่าโดยสรุปพบว่ามีความพึงพอใจในด้านคุณค่าอยู่ในระดับน้อยมาก
            5.1.6 ความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานLopifit ในด้านสรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่ามีความพึงพอใจในการใช้รถจักรยานLopifit ทุกด้านโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจน้อย
  
 
   5.2  การอภิปรายผล
      จักรยานlopifitที่พัฒนาขึ้นมานั้น มีความเหมาะสมกับการใช้งาน มีความแข็งแรงของจักรยานlopifitความสะดวกในการใช้งาน ซึ่งการพัฒนาจักรยานlopifitสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาหลักการทำงานของมอเตอร์Dcหลังจากการพัฒนาชิ้นงานวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้มีความแข็งแรงมีความเหมาะสมและความสะดวกในการใช้งานโดยมีความปลอดภัยในการใช้งานและง่ายต่อการขับขี่สามารถใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ
       นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นในเรื่องโปรแกรมที่มีทั้งในด้านตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันการทำงานด้านรูปลักษณ์และความง่ายต่อการใช้งานสามารตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานทุกอย่างตามที่ผู้จัดทำได้วิเคราะห์และออกแบบการทำงานของปุ่มกดสวิตซ์ ทำให้ผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมและระบบควบคุมการทำงานเป็นอย่างมากเพราะในการออกแบบโปรแกรมและระบบควบคุมทุกครั้งจะต้องคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลัก
 
12. ข้อเสนอแนะ
 5.3  ข้อเสนอแนะ          
           5.3.1  ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้          
                     (1)  งบประมาณไม่พอ
                       (2)  ของที่ต้องการแพงกว่าที่กำหนดไว้
           5.3.2  ข้อเสนอแนะเพื่องานวิจัยครั้งต่อไป       
                     (1)  ควรเพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้นโดยอาจจะเพิ่มความปลอดภัยให้มากกว่านี้
                      (2)  ควรเพิ่มหลังคารถ ป้องกันแสงแดดและฝน
                     (3)  ควรมีโช๊คช่วยให้การควบคุมรถได้ดีขึ้น ทำให้ตัวถังรถแข็งแรงมากขึ้น
               
 
13. บรรณานุกรม
 
                                      บรรณานุกรม
การทำงานของลู่วิ่ง .[ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 30 มกราคม 2560
จาก http://www.fitnessbh.com/product.php?pid=11
ทฤษฎีของมอเตอร์.[ออน-ไลน์]. สืบค้นวันที่ 30 มกราคม 2560
จาก http://praponangkeaw-motor.blogspot.com/
 
14. ประวัติผู้จัดทำโครงการ



ลิงค์ Youtube vdo